Page 24 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       16


                       ทําใหการจําแนกดินเปลี่ยนไป (หนามากกวา 50 เซนติเมตร) สวนใหญจะพบการทับถมตะกอนโดยน้ํา
                       (overwash) จะมีความหนาประมาณ 25-50 เซนติเมตร  ปกติการทับถมของตะกอนที่พัดพามาโดย

                       น้ําจะไมใชกับดินที่เกิดจากตะกอนน้ําพาที่มีอายุนอยและมีพัฒนาการชั้นดินยังไมดีนัก (young
                       alluvial soils)
                                        2) การระบายน้ําของดิน (soil drained) มีความหมายเกี่ยวกับความถี่และ

                       ระยะเวลาของชวงที่ดินเปยก ในสภาพพัฒนาการของดินตามธรรมชาติ สภาพการมีน้ําในดิน
                       (soil water state) ใชเพื่อบงชี้ใหเห็นถึงความแตกตางของสถานะน้ําในดิน ระดับน้ําใตดิน ซึ่งขึ้นอยู
                       กับวัตถุประสงคของการสํารวจ โดยสมบัติดินบางอยางอาจสะทอนถึงสภาพของการระบายน้ําหรือ

                       ความเปยกของดิน เชน สีดินหรือสีจุดประ เปนตน ในดินเดียวกันแตมีการจัดการที่แตกตางกัน
                       จําเปนตองใชประเภทของการระบายน้ํามาแบงแยกดินดวย โดยชั้นของการระบายน้ําแบง (drainage
                       class) สามารถแบงออกได 8 ชั้น (ตารางที่ 7)

                                        3) ความเค็มหรือความเปนโซดิก (saline or saline-sodic soil) เปนผลกระทบ
                       จากเกลือที่สงผลตอสมบัติดินและความเปนพิษในการปลูกพืช การพิจารณความเค็มของดินสามารถ
                       แยกออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก ความเค็มของดิน คาอัตรารอยละโซเดียมที่แลกเปลี่ยนไดและระดับ

                       อันตรายที่เกิดจากโซดิกตอพืช (ตารางที่ 8 และ ตารางที่ 9)
                                        4) คาอัตรารอยละความอิ่มตัวเบส (base saturation)
                                          (1) คาอัตรารอยละความอิ่มตัวเบสสูง (high base saturation : hb) หมายถึง

                       มีคาอัตรารอยละความอิ่มตัวเบสมากกวาหรือเทากับรอยละ 35
                                          (2) คาอัตรารอยละความอิ่มตัวเบสต่ํา (low base saturation : lb) หมายถึง
                       มีคาอัตรารอยละความอิ่มตัวเบสนอยกวารอยละ 35

                                        5) สภาพของดินตอนลาง (substratum) เปนชั้นของวัตถุตนกําเนิดดินและชั้น
                       หินพื้นที่อยูตอนลาง ใชในกรณีที่ชั้นตอนบนและชั้นตอนลางมีความแตกตางกันอยางชัดเจนในระดับ
                       การจําแนกดินตั้งแตวงศดิน (family) และชุดดิน (series) เชน ชั้นดินลางที่เปนดินเหนียว (clayey
                       substratum : csub) ชั้นดินลางที่เปนหินทราย (sandstone substratum : sssub)

                                        6) พบคันนา (bunded : b) มีการปรับพื้นที่ใหราบเรียบแลวทําคันนาลอมรอบ
                       เพื่อกักเก็บน้ําสําหรับปลูกขาว

                                        7) มีการยกรอง (raised bedding : rb) มีการยกรองใหมีสันรองกวางขึ้นเพื่อ
                       ปลูกไมยืนตนหรือไมผล
                                        8) มีปูนปน (calcareous : ca) พบชั้นดินที่มีกอนปูนปะปนอยูกับเนื้อดิน
                                        9) เปนกรดจัดมาก (very strongly acid : vsa) ใชในกรณีที่ดินมีคาปฏิกิริยา

                       ต่ํากวา 4.5
                                        10) เปนกรดรุนแรงมาก (extreamly acid : xa) ใชในกรณีที่ดินมีคาปฏิกิริยา

                       ต่ํากวา 4.0
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29