Page 23 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
15
ตารางที่ 4 ชั้นความลาดชันของพื้นที่
รอยละของ ความลาดชันเชิงซอน ความลาดชันเชิงเดี่ยว
หนวยแผนที่
ความลาดชัน (Complex slope) (Simple slope)
A 0-2 ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
(level to nearly level) (level to nearly level)
B 2-5 ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ลาดชันเล็กนอยมาก
(gently undulating) (very gently sloping)
C 5-12 ลูกคลื่นลอนลาด ลาดชันเล็กนอย (gently sloping)
(undulating)
D 12-20 ลูกคลื่นลอนชัน (rolling) ลาดชันสูง (strongly sloping)
E 20-35 เนินเขา (hilly) สูงชันปานกลาง (moderately
streep)
F 35-50 สูงชัน (steep) สูงชัน (steep)
G 50-75 สูงชันมาก (very steep) สูงชันมาก (very steep)
H >75 สูงชันมากที่สุด (extremely สูงชันมากที่สุด (extremely
steep) steep)
หมายเหตุ : พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต เรียกวา พื้นที่ลาดชั้นเชิงซอน (slope complex : SC)
3. ความลึกของดิน (soil depth) หมายถึง ความหนาของดินจากชั้นผิวดินถึงชั้นที่มี
สมบัติขัดขวางการเจริญเติบโตของรากพืช ถึงแมวาชั้นนี้จะไมทําใหรากพืชชะงักการเจริญเติบโต
ในทันทีแตก็ทําใหรากพืชไมสามารถเจริญเติบโตไดตามปกติ ชั้นตาง ๆ ไดแก แนวสัมผัสของชั้นหิน
พื้นแข็ง (lithic contact) แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นออน (paralithic contact) ชั้นเชื่อมแข็งของ
อินทรียวัตถุและอะลูมินัมหรือชั้นดานอินทรีย (cemented spodic horizon) แนวสัมผัสของชั้นที่
เชื่อมตัวกันแข็งของเหล็ก (petroferric contact) ชั้นดาน และชั้นที่เชื่อมตัวแข็งอื่น ๆ รวมถึงชั้นเศษหิน
กรวด ลูกรัง และสารมวลพอกตาง ๆ ที่มีขนาด 2 มิลลิเมตรหรือโตกวา (coarse fragment) ใน
ปริมาณมากกวารอยละ 35 โดยปริมาตร ชั้นความลึกของดิน แบงได 5 ชั้น (ตารางที่ 5)
4. การชะลางพังทลายหรือกรอนของดิน (soil erosion) เปนกระบวนการแตก
กระจาย (detachment) และการเคลื่อนยาย (movement) ของวัสดุดิน ซึ่งอาจเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
หรือโดยมีการกระทําของมนุษยเปนตัวเรง ตัวการที่ทําใหเกิดการกรอนของดินตามธรรมชาติ เชน
โดยน้ํา (water erosion) หรือโดยลม (wind erosion) การกรอนของดินทําใหคุณภาพของดินเสื่อมลง
ดินจะสูญเสียธาตุอาหาร สมบัติทางกายภาพไมเหมาะสม ดินแนนทึบ ดินตื้นขึ้น ความรุนแรงของการ
กรอนแบงออกได 5 ชั้น (ตารางที่ 6)
5. ประเภทดินอื่นที่อาจพบในหนวยแผนที่ดิน (other phases) ไดแก ปจจัยอื่น ๆ
ที่มีความสําคัญตอการจัดการดิน มีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืช และการใหผลผลิตของพืช
ที่ปลูกก็สามารถนํามาใชเปนประเภทดินได ดังนี้
1) ตะกอนทับถมตอนบน (depositon on the surface) ดินบางดินจะมีตะกอน
หรือวัสดุอื่น ๆ มาทับถมตอนบน ซึ่งอาจเกิดจากอิทธิพลของน้ํา หรือลม โดยตะกอนที่มาทับถมมีความ
หนาพอที่จะทําใหการแปลความหมายเพื่อการใชประโยชนที่ดินแตกตางไปจากเดิม แตไมหนาพอที่จะ