Page 88 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 88

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        70


                   ยางพาราที่เหมาะสมนั้น จะต้องท าการศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจควบคู่ไปด้วย เพราะการใช้ปุ๋ย
                   อินทรีย์จ าเป็นต้องใช้ในปริมาณมาก ดังนั้นหากเกษตรกรสามารถหาวัตถุดิบที่ให้ธาตุอาหารสูง มีปริมาณ

                   มากและหาได้ง่ายในท้องถิ่นก็จะส่งผลให้ต้นทุนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ลดลงได้ การใส่ปุ๋ยตามวิธีเกษตรกร (วิธี
                   ที่ 1) ให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งต่ าที่สุดใน 2 ปีแรก  และในปีที่ 3 แม้การใส่ปุ๋ยตามวิธีเกษตรกร

                   (วิธีที่ 1) จะให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งสูงกว่าการใส่ปุ๋ยเคมี 100 เปอร์เซ็นต์ตามค่าวิเคราะห์ดิน (วิธี
                   ที่ 2) แต่ก็ยังต่ ากว่าการใส่ปุ๋ยเคมี 75 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ 25 เปอร์เซ็นต์ตามค่าวิเคราะห์ดิน (วิธีที่ 3)

                   ตารางที่  25 ข้อมูลเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งของผลผลิตยางพาราในช่วงด าเนินการปี 2559-2561

                                                                            ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้ง
                                           วิธีที่                        ปี พ.ศ.    ปี พ.ศ.    ปี พ.ศ.
                                                                           2559       2560      2561

                   1.ใส่ปุ๋ยตามวิธีเกษตรกร (20-8-20) 1 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี      38.94   42.95    40.25
                   2. ใส่ปุ๋ยเคมี 100 % + ปุ๋ยอินทรีย์ 0 % ตามค่าวิเคราะห์ดิน     41.11   45.18    39.12
                   3. ใส่ปุ๋ยเคมี 75 % + ปุ๋ยอินทรีย์ 25 % ตามค่าวิเคราะห์ดิน     39.14   43.52    44.74



                  ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยาง                                                     วิธีที่ 1
                    46
                  แห้ง                                                                             วิธีที่ 2
                                                                                                   วิธีที่ 3
                    44



                    42



                    40


                    38



                    36



                    34
                                   ปี 2559                   ปี 2560                   ปี 2561

                                         แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งในแต่ละปีที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 1
                                         แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งในแต่ละปีที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 2

                                         แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งในแต่ละปีที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 3

                   ภาพที่ 18 กราฟแสดงค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งในปี 2559-2561
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93