Page 84 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        66



                 ปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (mg/kg)

                  70                                                                              วิธีที่ 1

                                                                                                   วิธีที่ 2

                  60                                                                               วิธีที่ 3

                  50


                  40


                  30

                  20


                  10


                    0
                          ก่อนการทดสอบ           ปี 2559             ปี 2560            ปี 2561



                                        แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสฟอรัสในดินก่อนและหลังการทดสอบที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 1
                                        แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสฟอรัสในดินก่อนและหลังการทดสอบที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 2


                                        แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสฟอรัสในดินก่อนและหลังการทดสอบที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 3

                   ภาพที่ 15 กราฟแสดงปริมาณฟอสฟอรัสในดินก่อนและหลังการทดสอบในปี 2559-2561

                         จากตารางที่ 23 พบว่าหลังการทดสอบ วิธีที่ 1 มีปริมาณโพแทสเซียมในดินสูงมากและมากกว่าวิธีที่

                   2 และ 3 เกือบ 2 เท่า เป็นเพราะในวิธีที่ 1 ใส่ปุ๋ยมากเกินความต้องการของพืช ไม่ได้ใส่ปุ๋ยตามค่า
                   วิเคราะห์ดิน จึงท าให้มีตกค้างอยู่ในดินเป็นจ านวนมากดังที่ปรากฏ ส่วนวิธีที่ 3 ที่มีปริมาณโพแทสเซียมใน

                   ดินมากกว่าวิธีที่ 2 นั้น เป็นเพราะวิธีที่ 3 มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วยจึงช่วยเพิ่มค่า Cation  Exchange
                   Capacity, CEC) ท าให้ธาตุอาหารอยู่ในดินได้นานและปลดปล่อยให้พืชทีละช้าๆ ซึ่งสอดคล้องกับรายงาน
                   ของชนวน (2538) วิธีที่ 2 ที่ใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวท าให้ธาตุอาหารเละลายและถูกชะล้างของปุ๋ย

                   ออกไปจากดินได้ง่าย ภาพที่ 16 จะเห็นได้ว่าปริมาณโพแทสเซียมในดินหลังการทดสอบมีแนวโน้มเพิ่มมาก
                   ขึ้นในทุกวิธี เพราะโพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารส าคัญ ที่พืชต้องการใช้ในปริมาณมากส าหรับกระบวนการ

                   สร้างน้ ายางเพื่อเพิ่มผลผลิต (สถาบันวิจัยยาง,  2549) จึงมีการใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมเป็นจ านวนมาก ท าให้
                   โพแทสเซียมบางส่วนตกค้างอยู่ในดินหลังจากที่พืชน าไปใช้ไม่หมด โดยการเก็บผลผลิตน้ ายางพารา 1 ตันนั้น

                   ดินจะสูญเสียธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม 20,  5  และ 25 กิโลกรัม ตามล าดับ  (กรมวิชาการ
                   เกษตร, 2548)
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89