Page 87 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 87

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        69



                     ค่าการน าไฟฟ้าในดิน (dS/m)

                    0.07                                                                              วิธีที่ 1
                                                                                                       วิธีที่ 2
                    0.06                                                                               วิธีที่ 3


                    0.05


                    0.04


                    0.03


                    0.02


                    0.01


                       0
                              ก่อนการทดสอบ          ปี 2559            ปี 2560            ปี 2561

                                            แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าการน าไฟฟ้าในดินก่อนและหลังการทดสอบที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 1

                                            แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าการน าไฟฟ้าในดินก่อนและหลังการทดสอบที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 2


                                            แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าการน าไฟฟ้าในดินก่อนและหลังการทดสอบที่ใส่ปุ๋ยวิธีที่ 3

                   ภาพที่ 17 กราฟแสดงค่าการน าไฟฟ้าในดินก่อนและหลังการทดสอบในปี 2559-2561


                   4.3 ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้ง
                          จากการเก็บตัวอย่างน้ ายางพาราเพื่อน ามาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้ง เป็น

                   ระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ถึงปี พ.ศ. 2561 (ตารางที่ 25 และ ภาพที่ 18) พบว่าในปีแรกของการ
                   ทดสอบ วิธีที่ 2 การใส่ปุ๋ยเคมี 100  เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน มีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งสูง

                   ที่สุด ในปีที่ 2 ของการทดสอบ วิธีที่ 3 การใส่ปุ๋ยเคมี 50  เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ 50  เปอร์เซ็นต์
                   ตามค่าวิเคราะห์ดิน ให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งสูงที่สุด และในปีที่ 3  ของการทดสอบ  วิธีที่ 3 คือ

                   การใส่ปุ๋ยเคมี 75 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ 25 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน ให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์
                   เนื้อยางแห้งสูงที่สุด
                          ดังนั้น สรุปได้ว่าใน 2 ปีแรกของการทดสอบ การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถเพิ่ม

                   ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งได้ เพราะการใส่ปุ๋ยเคมี 100 เปอร์เซ็นต์ตามค่าวิเคราะห์ดิน (วิธีที่ 2) ให้
                   ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งสูงที่สุด ส่วนการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตรา 25 เปอร์เซ็นต์ตามค่า

                   วิเคราะห์ดินนั้น (วิธีที่ 3) สามารถเพิ่มค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งได้เมื่อใส่ปุ๋ยอินทรีย์ติดต่อกันอย่าง
                   น้อย 3 ปี เป็นต้นไป และให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งสูงกว่าการใช้ปุ๋ยเคมี 100 เปอร์เซ็นต์ตามค่า

                   วิเคราะห์ดิน (วิธีที่ 2) ทั้งนี้ในการตัดสินใจเลือกอัตราการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92