Page 60 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        46


                   บน และปานกลางในดินล่าง มีการไหลบ่าของน้ าบนผิวดินเร็วตามปกติแล้วระดับน้ าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 1 เมตร
                   ตลอดปี ดินบนลึกไม่เกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน หรือดินร่วนปนทราย สีพื้นเป็นสีเข้มของสี

                   น้ าตาลปนเทา ถึงสีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-6.0) ดินบนตอนล่างมี
                   เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย สีพื้นเป็นสีน้ าตาลเข้ม หรือสีน้ าตาลปนเหลือง ส่วนดินล่างลึกไม่เกิน 50 ซม. มี

                   เนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทราย ปนก้อนศิลาแลง หรือ ดินเหนียวปนก้อนศิลาแลง สีพื้นเป็นสีแดงปนเหลือง
                   หรือสีแดง และสีจะค่อยๆ แดงขึ้นตามความลึกปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)

                                         3.5.3.2.3  ชุดดินคลองชาก  (Khiong  Chak  series:  Kc)  จัดอยู่ใน  clayey
                   skeletal,  kaolinitic,  isohyperthermic  Typic  Kandihumults  เกิดจากการผุพังสลายตัวของวัตถุ
                   ตกค้าง หรือหินดินดาดเชิงเขา ของพวกหินดินดานและฟิลไลท์บนที่ลาดเชิงเขา  หรือพื้นที่ผิวที่เหลือค้าง

                   จากการกัดกร่อน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาด ถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-6
                   เปอร์เซ็นต์ ชุดดินนี้เป็นดินตื้นมาก ถึงดินตื้น มีการระบายน้ าดี คาดว่าความสามารถในการให้น้ าซึมผ่านได้

                   เร็ว การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินเร็ว ตามปกติแล้วระดับน้ าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 1 เมตร ตลอดปี ดินบนลึกไม่
                   เกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเป็นดินร่วน หรือดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง อาจพบศิลา

                   แลงปนอยู่ด้วย สีพื้นเป็นสีเข้มของน้ าตาลปนแดง หรือสีน้ าตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงกรดแก่ (pH 5.5-
                   7.0) ส่วนดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนศิลาแลง ซึ่งมีปริมาณมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ภายใน

                   ความลึก 5 ซม. จากผิวดินบน สีพื้นเป็นสีแงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)
                          3.5.4 การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                          การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินแต่ละชุดได้ใช้สมบัติทางเคมี 5 อย่าง คือ ค่าความจุในการ

                   แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC) เปอร์เซ็นต์อิ่มตัวด้วยเบส(base saturation percentage, %BS) ปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดิน (OM) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (exch.K)

                   ซึ่งได้จากผลของการวิเคราะห์ดินที่เป็นตัวแทนของชุดดินในกลุ่มชุดดินนี้ โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับ
                   ความลึก 0-30 ซม. ส าหรับวิธีประเมินใช้วิธีการในคู่มือการวินิจฉัยคุณภาพของดินส าหรับประเทศไทย ปี

                   1973 (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพ์เผยแพร่โดยกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งผล
                   ของการประเมินสรุปได้ดังตารางที่ 13

                   ตารางที่ 13 ผลการวิเคราะห์ดิน และระดับความอุดมสมบูรณ์ของแต่ละชุดดิน
                                            CEC         BS       OM      Avai.P    Exch.K     ระดับความ
                      ชุดดิน       pH     cmol /kg     (%)       (%)     (mg/kg)   (mg/kg)    อุดมสมบูรณ
                                              c

                    ชุมพร          5.10     6.90      13.50      0.68      4.40      29.40       ต่ า
                    คลองชาก        4.68     8.07      10.90      0.33      2.70     37.00        ต่ า
                    คามัธยฐาน      4.89     8.04      10.90      2.71      4.40     45.17        ต่ า
                   ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2548)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65