Page 59 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        45


                                 3.5.1.4 สภาพพื้นที่และความลาดเท : ลาดคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา มีความลาดเทอยู่ระหว่าง
                   2-30 เปอร์เซ็นต์

                                  3.5.1.5 สภาพการระบายน้ า : ดีปานกลางถึงดี
                                 3.51.6  พืชพรรณและการใช้ประโยชน์  :  ป่า  และใช้ในการปลูกยางพารา  มะม่วงหิม

                   พานต์ มะพร้าว ปาล์มน้ ามัน และไม้โตเร็ว
                                 3.5.1.7 การชะล้างพังทลายของหน้าดิน : ระดับปานกลางถึงสูง

                                 3.5.1.8 ปริมาณเศษหินกรวดที่ผิวดิน : มีน้อยมากถึงปานกลาง
                                 3.5.1.9 การแพร่กระจาย : พบในภาคตะวันออก และภาคใต้
                          3.5.2 การจ าแนกดิน

                          ชื่อชุดดิน(soil series) และการจ าแนกระดับวงศ์(soil family) ในกลุ่มชุดดินที่ 45 ที่พบในจังหวัด
                   ตราด ตามระบบอนุกรมวิธานดิน(soil taxonomy) แสดงไว้ในตารางที่ 11

                   ตารางที่ 12 การจ าแนกดินระดับวงศ์ดิน

                         ชุดดิน (soil series)   การจําแนกระดับวงศ์ดิน ปี 1975   การจําแนกระดับวงศ์ดิน ปี1998

                     ชุมพร                   clayey skeletal, kaolinitic      clayey skeletal, kaolinitic,
                     (Chumphon series: Cp)   Typic Paleuduts                  isohyperthermic
                                                                              Typic Paleudults


                     คลองชาก                 clayey skeletal, kaolinitic      clayey skeletal, kaolinitic,
                     (Khlong Chak series: Kc)  Typic Paleuduts                isohyperthermic
                                                                              Typic Kandihumults
                   ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2548)


                          .5.3 ลักษณะของกลุ่มชุดดินและชุดดินในกลุ่มชุดดินที่ 45 ที่พบในจังหวัดตราด
                                 3.5.3.1 ลักษณะของกลุ่มชุดดินที่ 45 เป็นดินตื้น ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึง
                   ดินร่วนปนดินเหนียว  สีน้ าตาลหรือสีน้ าตาลปนแดง  ส่วนดินชั้นล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายดินร่วน

                   เหนียวถึงดินเหนียวปนกรวดหรือลูกรัง  สีน้ าตาล  สีแดงหรือสีเหลือง  ก้อนกรวดส่วนใหญ่เป็นหินกลมมน
                   ปฏิกิริยาของดินเป็นกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก  (pH  4.5-5.5)  การระบายน้ าดี  ความอุดมสมบูรณ์ต่ า  ใช้

                   ประโยชน์ในการปลูกยางพารา มะม่วงหิมพานต์ ไม้โตเร็ว บางส่วนยังคงสภาพเป็นป่า
                                 3.5.3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุ่มชุดดินที่ 45

                                         3.5.3.2.1 ชุดดินชุมพร (Chumphon series: Cp) จัดอยู่ใน clayey skeletal,
                   kaolinitic, isohyperthermic Typic Paleudults เกิดจากการตะกอนล าน้ า เก่าที่พัดพามาทับถมกันบน

                   ลานตะพักล าน้ าระดับกลาง สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาด
                   ชัน 2-6 เปอร์เซ็นต์ ชุดดินนี้เป็นดินตื้นมาก มีการระบายน้ าดี ดินมีความสามารถให้น้ าซึมผ่านได้เร็วในดิน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64