Page 40 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        31


                   ตารางที่ 13 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณด้านการปฏิบัติในการปรับปรุงบ ารุงดินของหมอดินอาสา (Y )
                                                                                                     2

                                    ตัวแปร                    ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย(b)     t        Sig.


                    รายได้ทั้งหมดของครัวเรือน                         .818            4.765        .000***
                    ประสบการณ์การใช้ปูนโดโลไมท์                       .288            3.227        .001***

                    การได้รับการฝึกอบรม                               1.646           11.692       .000***

                                      2
                                                 2
                    Constant=5.870  R  = 0.278   R  = 0.276   SEE = 0.697   F =39.292  Sig of F = 0.000
                                                  adj

                  หมายเหตุ *** หมายความว่า มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001

                          จากการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณโดยน าตัวแปรอิสระทั้ง 8 ตัวแปร ไปใส่ในสมการแล้วค านวณโดย

                   ใช้วิธีหลายขั้นตอน (stepwise) ปรากฏว่าได้ค่า F = 39.292 ; Sig. = 0.000  หมายความว่ามีตัวแปร
                   อิสระ  3 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเชิงพหุ
                                                          2
                                                                      2
                   (multiple coefficient of determination, R ) ปรากฏว่า R  มีค่าเท่ากับ 0.278 หมายความว่า ตัวแปร
                   อิสระทั้งหมดสามารถอธิบายการผันแปร (การเปลี่ยนแปลง)ของตัวแปรตาม ได้ร้อยละ 27.80 และใน

                   บรรดาตัวแปรอิสระทั้ง 8 ตัวแปร มีตัวแปรอิสระจ านวน 3 ตัวแปร ที่มีผลต่อตัวแปรตามอย่างมีนัยส าคัญ

                   ทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือต่ ากว่า ได้แก่ รายได้ทั้งหมดของครัวเรือน ประสบการณ์การใช้ปูนโดโลไมท์
                   และการได้รับการฝึกอบรมโดยตัวแปรดังกล่าวมีผลเชิงบวก รายละเอียดดังตารางที่ 13 ซึ่งตัวแปรทั้งหมด

                   ที่น ามาวิเคราะห์ สามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ได้ดังนี้
                                  Y = a + b x + b x + b x
                                   2
                                                       8 8
                                                 6 6
                                           4 4
                                  หรือ   Y    = 5.870  + 0. 818x + 0.288 x  + 1.646x
                                                                                   8
                                          2
                                                                         6
                                                               4
                                  แสดงว่า การปฏิบัติฯ = 5.870 + 0. 818(รายได้ทั้งหมดของครัวเรือน)+ 0.288

                                  (ประสบการณ์การใช้ปูนโดโลไมท์) + 1.646(การได้รับการฝึกอบรม)
                          การปฏิบัติมีความสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระ คือ รายได้ทั้งหมดของครัวเรือน ประสบการณ์การใช้
                   ปูนโดโลไมท์ และการได้รับการฝึกอบรม

                   *Significance ของสถิติทดสอบ  t  ≤  ระดับนัยส าคัญ 0.05

                   ตอนที่ 5 ปัญหา และข้อเสนอแนะของหมอดินอาสาต่อการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุง

                           พื้นที่ดินกรด

                           ในการศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของหมอดินอาสาได้สอบถามซึ่งใช้ค าถามปลายเปิดโดย

                   หมอดินอาสาให้ความเห็นไว้ในประเด็นต่าง ๆ ซึ่งสรุปตามหัวข้อปัญหาได้ ดังนี้
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45