Page 35 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        26


                   ตารางที่ 7 (ต่อ)
                                                                                                     n = 204

                             ประเด็นค าถาม             ปฏิบัติ   ปฏิบัติ  ไม่ปฏิบัติ      x  SD     แปล
                                                        เป็น     บางครั้ง   เลย                     ความ

                                                       ประจ า
                                                       จ านวน    จ านวน    จ านวน

                                                      (ร้อยละ)  (ร้อยละ)  (ร้อยละ)

                   14. หลังจากหว่านปูนโดโลไมท์ลงดิน      76        85        43     1.17  0.782  ปฏิบัติ
                   แล้วต้องท าการไถพรวนให้ปูนคลุกกับ (37.30)  (41.50)  (21.00)                     บางครั้ง

                   ดินแล้วหมักทิ้งไว้เป็นเวลาอย่างน้อย
                   15-30 วันเพื่อให้ปูนท าปฏิกิริยากับดิน

                   ก่อนการปลูกพืชเสมอ

                   15. ในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง       65        78        61     1.02  0.747  ปฏิบัติ
                   หลังจากใส่ปูนโดโลไมท์ลงไปในดินแล้ว (31.90)  (38.20)  (29.90)                    บางครั้ง

                   ต้องใช้วิธีการสับกลบหรือคราดปูนลงไป

                   ในดินแทนการไถพรวนเพื่อลดการชะ
                   ล้างปูนโดโลไมท์ของน้ าฝนลงสู่ด้านล่าง

                   ของพื้นที่
                                  รวม                                               1.11  0.779  ปฏิบัติ

                                                                                                   บางครั้ง


                          จากหัวข้อแบบสอบถามที่ใช้ทดสอบด้านการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์ของหมอดินอาสา

                   มีทั้งหมด 15 ประเด็นค าถาม ส่วนใหญ่หมอดินอาสาจะมีการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์อยู่ที่ปฏิบัติเป็น
                   บางครั้งเท่านั้น ดังนั้นแนวทางการถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดต้อง

                   เน้นให้เกษตรกรเห็นความส าคัญในด้านการปฏิบัติให้มากขึ้น เพื่อให้เกิดการใช้ปูนโดโลไมท์ให้เกิด
                   ประสิทธิภาพสูงสุดในการแก้ปัญหาดินกรด และควรเน้นการปฏิบัติในข้อประเด็นค าถามที่เกี่ยวข้องกับการ

                   ตรวจวิเคราะห์ดินและการใช้ปูนตามค่าวิเคราะห์ดิน ซึ่งเป็นประเด็นค าถามที่เกษตรกรให้ความส าคัญน้อย
                   ที่สุดตามล าดับ คือค าถามในข้อที่ 5) การเก็บตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์หาค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                   ต้องท าก่อนการปลูกพืชหรือท าหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยต้องขุดดินลึก 15 เซนติเมตร เก็บ 10-15 จุด

                   พร้อมเขียนรายละเอียดการปลูกพืช และชื่อที่อยู่แนบก่อนส่งตรวจ
                   ข้อที่ 4) ก่อนการใส่ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงดินกรดต้องมีการตรวจวิเคราะห์ดินเพื่อหาค่าความเป็น

                   กรดเป็นด่าง (pH)  ของดินก่อนเสมอ  และข้อที่ 2) การใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินที่เป็นกรดต้องใช้

                   ปูนโดโลไมท์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน หรือใส่ตามหลักวิชาการ ซึ่งการปฏิบัติในข้อการตรวจวิเคราะห์ดินก่อน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40