Page 38 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        29


                   ทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือต่ ากว่า ได้แก่ ระดับการศึกษา และการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ โดยตัวแปรดังกล่าว

                   มีผลเชิงบวกรายละเอียดดังตารางที่ 10 ซึ่งตัวแปรทั้งหมดที่น ามาวิเคราะห์ สามารถเขียนเป็นสมการ
                   ถดถอยพหุคูณ ได้ดังนี้

                          Y = a + b x + b x + b x
                            1
                                          3 3
                                                7 7
                                    3 3
                          หรือ   Y       = 10.475  + 0.159x + 0. 057x
                                                           3
                                                                     7
                                   1
                          แสดงว่า ความรู้ฯ = 10.475 + 0.159 ( การได้รับการศึกษา)+0.057(การติดต่อกับเจ้าหน้าที่)
                          ความรู้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระคือ การได้รับการศึกษา และการติดต่อกับเจ้าหน้าที่

                   *Significance ของสถิติทดสอบ  t  ≤  ระดับนัยส าคัญ 0.05

                   ตารางที่ 10 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณด้านความรู้ในการปรับปรุงบ ารุงดินของหมอดินอาสา (Y )
                                                                                                  1

                                      ตัวแปร                   ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย(b)     t       Sig.


                      ระดับการศึกษา                                     .159           2.601     .010**

                      การติดต่อกับเจ้าหน้าที่                           .057           8.441     .000***

                                                   2
                                        2
                     Constant=10.475  R  = 0.375 R  = 0.374 SEE  =  0.293     F =8.163   Sig of F = 0.000
                                                   adj

                  หมายเหตุ    ** ความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
                            *** ความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001

                   ตารางที่ 11 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์การปฏิบัติ (Y )
                                                                                                2

                                         ตัวแปร                        ค่าเฉลี่ย   ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                    ตัวแปรอิสระ
                    1. เพศ                                                -                -
                    2. อายุของกลุ่มตัวอย่าง (ปี)                        48.47            10.160

                    3. ระดับการศึกษา (ปี)                               12.13            5.212
                    4. รายได้ทั้งหมดของครัวเรือน(บาท)                 97,104.51          88.498
                    5. ขนาดพื้นที่ท าการเกษตร (ไร่)                     13.68            10.797
                    6. ประสบการณ์การใช้ปูนโดโลไมท์ (ปี)                 5.21             3.265

                    7. การได้รับค าแนะน าจากเจ้าหน้าที่ (ครั้ง)         1.31             0.844
                    8. การได้รับการฝึกอบรม  (ครั้ง)                     1.36             0.838
                    ตัวแปรตาม
                    การปฏิบัติในการปรับปรุงบ ารุงดินของเกษตรกร          1.11             0.779


                          เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระแต่ละคู่ พบว่าไม่มีตัวแปรอิสระคู่ใดที่มีความสัมพันธ์
                   กันสูงกว่า 0.80 ที่จะก่อให้เกิดปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระด้วยกันเอง (Multicollinearity)
                   อันเป็นการละเมิดข้อสมมติฐานที่ก ากับเทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณรายละเอียดปรากฏตาม
                   ตารางที่ 12 โดยผู้วิจัยได้ก าหนดสัญลักษณ์ที่ใช้กับตัวแปรต่าง ๆ ดังสมการต่อไปนี้
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43