Page 89 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 89

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       79







                       ผลิตข้าวหอมมะลิ” อันเป็นประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการขาย โดยมีการ
                       ประสานงานกับหมอดินอาสา หน่วยงาน ราชการ และองค์กรต่างๆ ที่เข้ามาร่วมบูรณาการช่วยเหลือ
                       ในทุกๆ ด้าน และการเปิดโอกาสทางการตลาดอย่างส าคัญจากการส่งเสริมและผลักดันการเกษตร
                       อินทรีย์เชิงรุกของจังหวัดยโสธร ปัจจุบันเกิดผลส าเร็จเป็นรูปธรรมเป็นต้นแบบและขยายผลไปสู่พื้นที่

                       ใกล้เคียง
                                      6. กลุ่มเกษตรอินทรีย์ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
                                         เป็นกลุ่มเกษตรกรที่เพิ่งจัดตั้งขึ้น  มีการรวมตัวของสมาขิกที่สนใจจะท าการผลิตใน
                       ระบบเกษตรอินทรีย์   ผู้วิจัยและคณะท างานจากมูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย  ได้เข้าไปด าเนินการ

                       ขับเคลื่อนและท ากิจกรรมตามกระบวนการ PGS  กับกลุ่มนี้อย่างต่อเนื่องแล้ว  แต่ไม่สามารถพัฒนา
                       กลุ่มนี้ให้ด าเนินการตามกระบวนการ PGS จนประสบส าเร็จได้ เหตุผลที่ส าคัญคือ 1) ขาดศรัทธาต่อผู้น า
                       กลุ่มเพราะเป็นคนนอกพื้นที่ 2) ขาดพันธมิตรหน่วยงานสนับสนุนกลุ่ม เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับ
                       สมาชิก  ดังนั้นทีมงานจึงได้ค้นหากลุ่มเกษตรอินทรีย์ใหม่และให้กลุ่มเดิมมาร่วมกับกลุ่มใหม่ จัดตั้งเป็น

                       กลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ พี จี เอส ที่ตั้งต าบลปุาเลา อ าเภอเมือง  จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้ประสานงาน
                       ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม นายมานะ สุทนต์ กลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ พี จี เอส อ. เมือง
                       มีสมาชิกกลุ่มที่สนใจเข้าร่วมกระบวนการ  พี จี เอส ในเบื้องต้นจ านวน 33 ครอบครัว  เป็นกลุ่มใหม่ที่

                       ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการฯ เพื่อพัฒนาเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์โดยใช้
                       กระบวนการ PGS  หลังจากเสร็จสิ้นโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากธนาคารพัฒนาเอเชีย
                       (ADB) แล้ว ก็ยังมีการขับเคลื่อนการด าเนินงานกับกลุ่มนี้ต่อไปโดยใช้งบประมาณของกรมพัฒนาที่ดิน
                       การศึกษาครั้งนี้จะเก็บข้อมูลเฉพาะกลุ่มเดิมคือกลุ่มเกษตรอินทรีย์ศรีเทพ

                                 ข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มเกษตรกร พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความพึงพอใจกับระบบ

                       PGS  และยินดีจะน าระบบ PGS มาใช้เป็นเครื่องมือในกระบวนการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
                       นอกจากนี้ PGS ยังเป็นมากกว่าระบบการรับรองท าให้เกิดการพัฒนาสังคมของเกษตรกร ได้แก่
                                  1. เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลเทคนิคการผลิตเกษตรอินทรีย์
                       องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และข้อมูลการผลิตและการตลาด เช่น
                                   - ในระหว่างการตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อน (peer review process) มีการแลกเปลี่ยนภูมิ

                       ปัญญาท้องถิ่นซึ่งกันและกันในทุกกลุ่ม เกษตรกรพึงพอใจในกระบวนการนี้มาก เนื่องจากก่อนมี PGS
                       เกษตรกรไม่มีโอกาสได้ไปเรียนรู้ซึ่งกันและกันต่างคนต่างท า หลังจากร่วม PGS  มีการร่วมกันตรวจ
                       เยี่ยมฟาร์มเพื่อน เพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ท าให้ได้เกิดการน าความรู้ที่ได้

                       เห็นในแต่ละแง่มุมของฟาร์มเพื่อนน ามาปรับประยุกต์ใช้พัฒนาการผลิตของตนเอง เช่น การสร้างแนว
                       กันชน การจัดท าปุ๋ยอินทรีย์ด้วยตนเองจากมูลสัตว์และไส้เดือน การใช้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงในการ
                       ปลูกพืช  การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน  การให้ค าแนะน า และการคิดวางแผนร่วมกันกับ
                       ผู้ประกอบการและผู้บริโภค เป็นต้น

                                   - มีการจัดกลุ่มสังคม PGS online สอบถามข้อมูลทุกเรื่องกับเพื่อนสมาชิกในกลุ่มและ
                       ข้ามกลุ่มที่เป็นเครือข่ายกัน การใช้ smart  phone เปรียบเสมือนหนึ่งห้องเรียนทางอากาศที่ไม่มี
                       ข้อจ ากัดของเวลา  และสถานที่  มีความรวดเร็วในการจัดการความรู้ได้อย่างกว้างขวาง สามารถแสดง
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94