Page 84 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       74







                                                           ภาคผนวก ข

                                ข้อมูลภาพรวมของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมทดลองระบบเกษตรอินทรีย์ PGS


                                  การพัฒนากลุ่มเกษตรกรเข้าสู่กระบวนการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
                       จ านวน 6 กลุ่มที่ได้รับการการคัดเลือก บางกลุ่มอาจมีประสบการณ์ได้รับการรับรองเกษตรอินทรีย์
                       มาแล้ว จากหน่วยรับรอง (certified  body) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และบางกลุ่มยังไม่ได้ขอ
                       การรับรองจากหน่วยรับรองใด ส าหรับกลุ่มที่สมาชิกบางคนได้รับการรับรองบางผลิตผลแล้ว  เช่น
                       ข้าวได้รับการรับรองเกษตรอินทรีย์แล้ว   แต่ไม่ครอบคลุมทุกผลิตผลในฟาร์มของเกษตรกรที่มีความ

                       หลากหลาย  ทั้งพืชหลากหลายชนิดและสัตว์    กลุ่มเปูาหมายจึงยินดีเข้าร่วมทดลองระบบ PGS
                       เพื่อให้สามารถขยายจ านวนเกษตรกรได้ และสามารถรับรองผลิตผลทั้งฟาร์มได้ ท าให้เข้าถึงช่องทาง
                       ตลาดได้มากขึ้น กลุ่มเปูาหมาย 6 กลุ่ม ได้แก่

                                     1) กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย จังหวัดสุรินทร์
                                     2) กลุ่ม PGS สุขใจออร์แกนิค จังหวัดนครปฐม ภายใต้โครงการสามพรานโมเดล
                                     3) กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
                                     4) กลุ่มสหกรณ์สมุนไพรแม่มอก อ าเภอเถิน จังหวัดล าปาง

                                     5) กลุ่มปลูกฮัก (วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ค าเขื่อนแก้ว) จังหวัดยโสธร
                                     6) กลุ่มเกษตรอินทรีย์ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
                       สรุปข้อมูลรายละเอียดของแต่ละกลุ่ม สรุปดังนี้
                               1. กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย

                                    ที่ตั้ง  24 หมู่ 10 บ้านทัพไทย ต าบลทมอ อ าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
                                  ผู้ประสานระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม  นางกัญญา อ่อนศรี
                                  เดิมกลุ่มเกษตรอินทรีย์ทัพไทยมีการจัดตั้งกลุ่มในนาม “กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ
                       อาชีพทางเลือกบ้านทัพไทย” ตั้งแต่ปี 2543 สมาชิก 30 ครอบครัว จาก 4 หมู่บ้าน ปลูกข้าวส่งออก

                       ในนามสหกรณ์เกษตรอินทรีย์กองทุนข้าวสุรินทร์จ ากัด ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน NOP,  EU,
                       Bio-Suisse และ ACT  ท าให้กลุ่มมีความรู้และเข้าใจระบบการตรวจและรับรองตามมาตรฐานเกษตร
                       อินทรีย์ และระบบการควบคุมภายใน (Internal Control System, ICS) แต่ยังมีชาวนาจ านวนมาก

                       เสียโอกาสในการได้รับการรับรองตามมาตรฐาน เพราะมีพื้นที่น้อยและอยู่นอกโควต้า รวมทั้งพืชผล
                       หลังนา พืชผักหลังบ้าน และปศุสัตว์ สัตว์น้ า ที่เกษตรกรท าในระบบเกษตรอินทรีย์ผสมผสานก็ไม่อยู่
                       ในระบบการรับรองด้วย เพราะค่าใช้จ่ายสูงไม่คุ้มกับผลผลิตที่หลากหลายอย่างละเล็กน้อย เมื่อ 10 ปีที่
                       ผ่านมากลุ่มได้ริเริ่มท า “ตลาดนัดสีเขียว” ให้เกษตรกรมาขายตรงให้ผู้บริโภคทุกวันเสาร์ที่ในเมืองสุรินทร์
                       ปัจจุบันขยายเปิดตลาดนัด เป็น 4  ครั้ง/สัปดาห์ที่อ าเภอปราสาทและในหมู่บ้าน  ท าให้ผู้ผลิตมีรายได้

                       ประจ า
                                   เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมาจึงได้จัดตั้งเป็น“สหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย”เพื่อขยายฐานการผลิต
                       ข้าวอินทรีย์ และจัดการผลิตผลเกษตรอินทรีย์ (Organic  produces) ส าหรับผู้บริโภคภายในประเทศ

                       โดยเฉพาะข้าว และปศุสัตว์ สมาชิกสหกรณ์มีความเห็นว่า กระบวนการรับรองแบบมีส่วนร่วม PGS ท า
                       ให้ขยายฐานผู้ผลิตสินค้าอินทรีย์ได้มากขึ้น จากเดิมมีสมาชิก 4  กลุ่มหมู่บ้าน ขยายเป็น 11  กลุ่ม
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89