Page 88 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 88

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       78







                                       4. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่มอก
                                    ที่ตั้ง  68/4 หมู่ 3 ต าบลแม่มอก อ าเภอเถิน จังหวัดล าปาง
                                    ผู้ประสานระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม  นางวราพร อินต๊ะพันธ์
                                        ประวัติความเป็นมา “แม่มอก” เป็นชื่อต าบล ประกอบด้วย 10  หมู่บ้าน อ าเภอเถิน

                       จังหวัดล าปาง พื้นที่ที่ราบเชิงเขา เป็นแหล่งอนุรักษ์ปุา และแหล่งต้นน้ า สูงจากระดับน้ าทะเล 400
                       เมตร ประชากรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ผูกพันกับธรรมชาติ ปุาต้นน้ า ภูเขา และการใช้สมุนไพรดูแล
                       สุขภาพ เดิมไม่มีการใช้สารเคมีทางการเกษตรใดๆ ท าให้แม่มอกเป็นแหล่งผลิตพืชสมุนไพร และ
                       สมุนไพรธรรมชาติมีชื่อเสียง มีคุณสมบัติทางยาที่ได้ตามมาตรฐานของโรงพยาบาล เช่น ขมิ้นชัน ไพล

                       ตะไคร้หอม มะระขี้นก ฟูาทะลายโจร รวมทั้งการปลูกพืชสมุนไพรอื่นๆ เช่น ตะไคร้ ใบมะกรูด เพื่อท า
                       ลูกประคบ มีโรงงานแปรรูปสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน ผลิตผลของกลุ่ม ได้แก่ สมุนไพรแปรรูป สมุนไพร
                       สด สมุนไพรแห้ง  ส่งให้กับโรงพยาบาลเถิน และโรงพยาบาลอื่นๆ
                                    กลุ่มแม่มอก พี จี เอส ประกอบด้วยสมาชิก 10 หมู่บ้าน 37 ครอบครัว ปลูกสมุนไพร

                       ส่งให้กับสหกรณ์รวบรวม แปรรูปสู่ตลาด และมีสมาชิกปลูกผัก ผลไม้จ าหน่ายตลาดนัดในหมู่บ้านทุก
                       วันศุกร์ การร่วมกระบวนการ พี จี เอส เป็นหลักประกันคุณภาพสมุนไพรที่ปลูกด้วยวิธีใกล้เคียงกับ
                       ธรรมชาติมากที่สุด เพื่อให้มีสรรพคุณทางยาเป็นไปตามมาตรฐานและผู้บริโภคมีความเชื่อมั่น

                       นอกจากนี้ได้ร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่น ผู้ประกอบการวางแผนการพัฒนาปลูกพืชตามความต้องการ
                       ของตลาดมากขึ้น เช่น ถั่วเหลืองอินทรีย์ ซึ่งเป็นพืชหลังนา (Post-harvest Plant) ก าลังขยายผลรับ
                       สมัครสมาชิกเป็นกลุ่ม พี จี เอส เป็นต้น
                                  5. กลุ่มปลูกฮัก (เกษตรอินทรีย์วิสาหกิจชุมขน ค าเขื่อนแก้ว)
                                      ที่ตั้งกลุ่ม  116 ม.8 ต าบลลุมพุก อ าเภอค าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร

                                      ผู้ประสานระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม   นายพรทวี  ศรีสง่า
                                          กลุ่มผู้ผลิตแตงโมอินทรีย์ปลูกฮัก เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มเกษตรกรในชุมชน
                       ซึ่งเกิดจากความรัก ถิ่นฐานบ้านเกิด ลูกหลานที่เป็นคนรุ่นใหม่ ได้เห็นคุณค่าของการพัฒนาถิ่นเกิด

                       ด้วยมรดกทางภูมิปัญญาและ ศักยภาพของพื้นที่ โดยมีเปูาหมายร่วมกัน คือความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ด้วย
                       กลยุทธ์การผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ ที่ทั้งช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มโอกาสทางการตลาด และเป็น
                       มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลงานที่เกิดจากความ รักในถิ่นอาศัย รักในอาชีพ รักเพื่อนบ้าน ผู้บริโภค
                       และเป็นการรักษาทรัพยากรดินและน้ าที่อุดมสมบูรณ์ไว้ให้ ลูกหลาน เกษตรกรที่สมัครเป็นสมาชิก

                       กลุ่ม มีความสมัครใจที่จะท าเกษตรอินทรีย์ และขอรับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วน
                       ร่วม เริ่มท าความเข้าใจกัน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการแก้ปัญหาพื้นที่ ซึ่งลักษณะพื้นที่
                       ต าบลลุมพุก อ าเภอค าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร พื้นที่ท าการเกษตรประมาณ 232,638 ไร่ โดยลักษณะ
                       ดินในพื้นที่จังหวัดยโสธรเป็นดินปนทราย 302,075ไร่ มีปัญหาความอุดมสมบูรณ์ต่ า 1,954,781  ไร่

                       สมบัติทางกายภาพของดินไม่ดี ดินไม่อุ้มน้ า กักเก็บน้ าไม่อยู่ ในฤดูแล้งดินจะแห้งจัด ประกอบกับพื้นที่
                       ไม่ สม่ าเสมอจึงเกิดการชะล้างพังทลายและสูญเสียหน้าดินเสมอ พื้นที่มีความแห้งแล้งขาดแคลนน้ าใน
                       การเพาะปลูก  ใช้ประโยชน์ในการท านาปีละครั้งและอาศัยแต่น้ าฝนเพียงอย่างเดียว บางปีปลูกแตงโม
                       หลังนาเพื่อ บริโภคภายในครัวเรือน กลุ่มเล็งเห็นโอกาสของการผลิตแตงโมอินทรีย์ ซึ่งเป็นพืชที่

                       สมาชิกเคยปลูก ปรากฏใน ค าขวัญของจังหวัด “เมืองบั้งไฟโก้ แตงโมหวาน หมอนขวานผ้าขิด แหล่ง
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93