Page 62 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       52







                       ระบบเกษตรเคมี  ดังนั้น  หากเกษตรกรไม่มีความมุ่งมั่นท าการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์อย่าง
                       จริงจัง  ก็มีโอกาสกลับไปใช้สารเคมีได้ง่าย
                                  นอกจากนั้นในส่วนของผลการศึกษาเกี่ยวกับการปรังปรุงบ ารุงรักษาดิน ยังพบว่า การ
                       ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์และน้ าหมักชีวภาพกับการผ่านการรับรอง PGS  ไม่มีความสัมพันธ์

                       ต่อกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%  สามารถอธิบายได้ว่า ถึงแม้เกษตรกรจะมี
                       การปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ หรือน้้าหมักชีวภาพแล้ว  ไม่ได้เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
                       ผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม  เนื่องจากการผลิตเกษตรอินทรีย์ตาม
                       มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ให้ความส้าคัญเรื่องสิ่งแวดล้อมและค้านึงถึงสุขภาพของสัตว์  ในมาตรฐาน

                       เกษตรอินทรีย์จึงก้าหนดว่า ในกรณีที่ใช้มูลสัตว์ปีกหรือผลพลอยได้จากการเลี้ยงสัตว์จากฟาร์ม ต้องมา
                       จากฟาร์มที่เลี้ยงแบบปล่อยหรือรวมเป็นฝูงหรือไม่มีการจ้ากัดอาณาเขตให้สัตว์นั้นเจริญเติบโตใน
                       สภาพแวดล้อมที่ผิดธรรมชาติ ดังนั้นการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่น้ามูลสัตว์ปีกมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต
                       จึงจ้าเป็นต้องเลือกใช้มูลสัตว์ปีกจากฟาร์มที่เลี้ยงแบบปล่อย (ห้ามใช้มูลสัตว์ปีกที่เลี้ยงแบบกรงตับ)

                       นอกจากนี้การใช้ปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์ที่ยังไม่ผ่านการหมักก็ไม่สามารถน้ามาใช้ได้  หากไม่เข้าใจใน
                       ประเด็นดังกล่าว อาจส่งผลให้เกษตรกรท้าผิดมาตรฐานเกษตรอินทรีย์  ท้าให้ไม่ผ่านการรับรอง
                       มาตรฐานเกษตรอินทรีย์  สอดคล้องกับผลการศึกษาของณัชชา (2556) ที่ได้ศึกษาปัญหาและอุปสรรค

                       ในการปรับเปลี่ยนเพื่อการผลิตพืชอินทรีย์กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกร จ.ราชบุรี ที่ผ่านการอบรม
                       โครงการพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อลดการใช้สารเคมี ปี 2554  พบว่า
                       เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างมีความรู้และทัศนคติต่อเกษตรอินทรีย์ในระดับสูงและมีปัญหาในการปฏิบัติ
                       ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์น้อย โดยประเด็นที่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ คือประเด็นเกี่ยวกับ
                       การห้ามใช้ปุ๋ยเคมี หรือใช้สารเคมีใด ๆ ในการจัดการภายในแปลงปลูก และประเด็นเกี่ยวกับการใช้

                       ปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์จะต้องน ามาผ่านกระบวนการหมักก่อนที่จะน ามาใช้กับพืช ตลอดจนห้ามใช้
                       เมล็ดพันธุ์ที่ผลิตโดยการตัดต่อพันธุกรรม และประเด็นที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตร
                       อินทรีย์มากที่สุด คือ ห้ามใช้ปุ๋ยเคมี ห้ามใช้สารเคมี สังเคราะห์ใด ๆ ในการก าจัดศัตรูพืชและวัชพืช

                       และห้ามใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์  เนื่องจากเกษตรกรขาดองค์ความรู้ในการใช้สิ่งทดแทน และยังขาด
                       ความสนใจในการท าเกษตรอินทรีย์
                               ส าหรับการใช้น้ าหมักชีวภาพไม่ได้มีความสัมพันธ์กับการผ่านการรับรอง PGS  เนื่องจาก
                       เกษตรกรทุกคนที่เข้าร่วมทดลองระบบ PGS มีการผลิตน้ าหมักชีวภาพใช้กันเป็นปกติ  ผลการทดสอบ

                       ในการวิจัยครั้งนี้จึงไม่มีความสัมพันธ์กับการผ่านการรับรอง PGS หรือกล่าวได้ว่าการใช้น้ าหมักชีวภาพ
                       ไม่มีอ านาจพยากรณ์ต่อการผ่านการรับรอง PGS  ทั้งนี้ประเด็นเรื่องปัจจัยการผลิตเกษตรอินทรีย์เป็น
                       ข้อก าหนดหลักที่ส าคัญที่จะต้องมีการตรวจประเมินในขั้นตอนการตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อน

                              2.4  ข้อมูลปัจจัยเสริม

                                       ในการศึกษาข้อมูลปัจจัยเสริมของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ คือ การ
                       สนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ผลการศึกษามีรายละเอียดดังตารางที่ 16
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67