Page 58 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          40


                        2.2 สมบัติทางกายภาพบางประการของดิน
                               2.2.1  ความหนาแนนรวมของดิน
                                       จากผลการศึกษาความหนาแนนรวมของดินกอนการปลูกหญาแฝก พืชคลุมดิน ที่
                  ระดับความลึก 0-15 15-30 และ 30-50 เซนติเมตร ความหนาแนนรวมของดินอยูระดับคอนขางต่ํา เทากับ

                  1.31 1.32 และ 1.37 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ ดินที่ระดับความลึก 0-50 เซนติเมตร มีความ
                  หนาแนนรวมของดินเทากับ 1.33 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร หลังสิ้นสุดการทดลองแปลงหญาแฝกลดความ
                  หนาแนนรวมของดินไดมากกวาพืชคลุมดิน และแปลงควบคุม โดยหญาแฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธ และพันธุ
                  รอยเอ็ด ลดความหนาแนนรวมไดมากที่สุดที่ระดับความลึก 0-15 และ 15-30 เซนติเมตร สวนหญาแฝกลุมพันธุ

                  สุราษฎรธานี และพันธุสงขลา 3 ลดความหนาแนนรวมดินที่ระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร ไดดีที่สุด ดังแสดง
                  ในตารางที่ 11 โดยมีรายละเอียดแตละความลึกดังนี้
                                      ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ดินที่
                  ปลูกหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธมีความหนาแนนรวมของดินต่ําที่สุดเทากับ 1.02 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร

                  ซึ่งไมแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุนครสวรรค พันธุราชบุรี พันธุพระราชทาน พันธุศรีลังกา พันธุตรัง 2
                  พันธุรอยเอ็ด พันธุสงขลา 3 พันธุสุราษฎรธานี และถั่วปนโต มีความหนาแนนรวมของดินเทากับ 1.04  1.05
                  1.07 1.07 1.07 1.08 1.08 1.13 และ 1.13 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ แตแตกตางทางสถิติกับถั่ว

                  เวอราโน และแปลงควบคุม ที่มีความหนาแนนรวมของดินเทากับ 1.27 และ 1.37 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
                  ตามลําดับ จะเห็นไดวาทุกตํารับการทดลองมีความหนาแนนรวมของดินลดลงกวาดินกอนปลูกยกเวนแปลง
                  ควบคุม โดยแปลงหญาแฝกลุม และหญาแฝกดอนมีความหนาแนนรวมของดินลดลงใกลเคียงกัน เทากับ 1.08
                  และ 1.05 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ สวนพืชคลุมดิน เทากับ 1.20 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
                  แปลงควบคุม เทากับ 1.37 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร และเมื่อเปรียบเทียบความหนาแนนรวมของดินเฉลี่ย

                  ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก พืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
                  (ตารางภาคผนวกที่ 35)
                                       ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร พบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ

                  ดินที่ปลูกหญาแฝกพันธุรอยเอ็ดมีความหนาแนนรวมของดินต่ําที่สุดเทากับ 1.04 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
                  ไมแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุตรัง 2 พันธุสุราษฎรธานี พันธุศรีลังกา และพันธุนครสวรรค มีความ
                  หนาแนนรวมของดินเทากับ 1.10 1.12 1.12 1.13 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ แตแตกตางกันทาง
                  สถิติกับหญาแฝกพันธุสงขลา 3 ถั่วเวอราโน หญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธ  พันธุพระราชทาน แปลงควบคุม

                  และถั่วปนโต 1.16 1.22 1.24 1.24 1.29 และ 1.30 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ หญาแฝกพันธุ
                  ราชบุรีมีความหนาแนนรวมมากที่สุด 1.33 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร จะเห็นไดวาทุกตํารับการทดลองมีความ
                  หนาแนนรวมของดินลดลงกวาดินกอนปลูก โดยแปลงหญาแฝกลุมและหญาแฝกดอนมีความหนาแนนรวมของ
                  ดินลดลงใกลเคียงกัน เทากับ 1.15 และ 1.19 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ สวนพืชคลุมดิน เทากับ

                  1.26 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร แปลงควบคุม เทากับ 1.29 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร และเมื่อเปรียบเทียบ
                  ความหนาแนนรวมของดินเฉลี่ยระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก พืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความแตกตางกัน
                  อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 36)
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63