Page 59 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          41



                                      ระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร พบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
                  หญาแฝกพันธุสุราษฎรธานี และพันธุสงขลา 3 มีความหนาแนนรวมของดินต่ําสุดเทากัน 1.05 กรัมตอลูกบาศก
                  เซนติเมตร ซึ่งไมแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุนครสวรรค พันธุศรีลังกา พันธุรอยเอ็ด พันธุตรัง 2 พันธุ

                  พระราชทาน.06 1.06 1.11 1.12 1.15 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ แตมีความแตกตางกันทางสถิติ
                  กับหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธ ถั่วปนโต ถั่วเวอราโน และหญาแฝกพันธุราชบุรี มีความหนาแนนรวมของดิน
                  เทากับ 11.18 1.20 1.24 และ 1.25 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ  สวนแปลงควบคุมมีความ
                  หนาแนนรวมของดินมากที่สุด 1.42 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร จะเห็นไดวาทุกตํารับการทดลองมีความ

                  หนาแนนรวมของดินลดลงกวาดินกอนปลูกยกเวนแปลงควบคุม แปลงหญาแฝกลุม และหญาแฝกดอนมีความ
                  หนาแนนรวมของดินลดลงใกลเคียงกัน เทากับ 1.09 และ 1.15 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ สวนพืช
                  คลุมดิน เทากับ 1.22 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร แปลงควบคุม เทากับ 1.42 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
                  และเมื่อเปรียบเทียบความหนาแนนรวมของดินเฉลี่ยระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก พืชคลุมดิน พบวาทุกกลุม

                  มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 37)
                                   จะเห็นวาแปลงที่มีการปลอยพื้นที่วางเปลาทําใหความหนาแนนรวมของดินเพิ่มขึ้น  สวน
                  แปลงที่ปลูกหญาแฝก และพืชคลุมดิน ความหนาแนนรวมของดินมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ลดลง อาจ

                  มาจากการที่ปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน โดยความหนาแนนรวมจะมีความสัมพันธเชิงลบกับมวลชีวภาพราก
                  ของหญาแฝก (ตารางที่ 20) เมื่อมวลชีวภาพรากหญาแฝกเพิ่มขึ้นความหนาแนนรวมของดินจะลดลง ซึ่งราก
                  หญาแฝกชอนไชทําใหเกิดชองวางในดิน รวมถึงใบพืชคลุมดินและใบหญาแฝกที่ตัดนําไปคลุมดิน มวลชีวภาพที่
                  มีการสะสมเปนการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ซึ่งมีผลโดยตรงกับความหนาแนนรวมของดินลดลง
                  (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548; Lu and Zhong, 1998; Liyu, 1988) ทั้งนี้ สอดคลองกับภาคภูมิ

                  (2546) พบวาแปลงที่ปลูกพืชคลุมดิน และหญาแฝกจะมีเม็ดดินขนาดใหญเพิ่มมากขึ้น จึงทําใหเกิดชองวาง
                  ขนาดใหญในดินเพิ่มมากขึ้นดวย ซึ่งสงผลโดยตรงตอความหนาแนนรวมของดิน และกมลาภา (2556) รายงาน
                  วาแปลงที่ปลูกหญาแฝกระยะเวลา 2 ป ความหนาแนนรวมของดินลดลงโดยเฉพาะที่ระดับความลึก

                  0-15 15-30 เซนติเมตร อยูในชวง 1.42-1.48 และ 1.39-1.52 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ ณรงคเดช
                  และคณะ (2557) รายงานวา การปลูกหญาแฝกทําใหความหนาแนนรวมของดินลดลงมากกวาแปลงควบคุม
                  โดยแปลงควบคุมความหนาแนนรวมของดินสูงเทากับ 1.74 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร หญาแฝกดอนความ
                  หนาแนนดินรวมของดินลดลง 1.49 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร และหญาแฝกลุมมีความหนาแนนรวมของดิน

                  ลดลงมากที่สุดเทากับ 1.41 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร  นอกจากนี้รายงานของ Hatfield and Stewart (1994)
                  ที่กลาววา พืชคลุมดินทําใหมีการเพิ่มขึ้นของปริมาณอินทรียคารบอนในดิน เปนผลที่สําคัญตอการเปลี่ยนสมบัติ
                  ทางกายภาพของดิน การแทรกซึมน้ําของดิน และการเปลี่ยนแปลงของการจับตัวและการสรางชองวางขนาด
                  ใหญในดิน ทําใหเกิดความพรุนของดินโดยรากพืช เศษซากพืชที่ตกลงบนผิวหนาดิน จะชวยลดการแนนทึบของ

                  ผิวหนาดินได ชุมพล และวิศิษฐ (2532) รายงานวาจากการศึกษาใชปุยพืชสดลดความหนาแนนรวมของดินใน
                  ชุดดินปากชอง พบวาพืชปุยสดทุกชนิดเมื่อไถกลบและทิ้งไวใหสลายตัวในดินนาน 20 วัน และปลูกตอเนื่องกัน
                  เปนเวลา 2 ป ความหนาแนนของดินลดลง และความพรุนของดินเพิ่มขึ้น
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64