Page 55 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 55

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          37


                  พันธุพระราชทาน ถั่วเวอราโน หญาแฝกพันธุราชบุรี และถั่วปนโต มีปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 501 465 456
                  447 440 420 369 361 350 และ 350 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ หญาแฝกพันธุสุราษฎรธานีมีปริมาณ
                  โพแทสเซียมต่ําสุด 343 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม จะเห็นไดวาทุกตํารับการทดลองมีปริมาณโพแทสเซียมอยูใน
                  ระดับต่ํากวาดินกอนปลูก ยกเวนแปลงควบคุม มีปริมาณโพแทสเซียมสูงที่สุดเทากับ 465 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม

                  สวนหญาแฝกดอน หญาแฝกลุม และพืชคลุมดินเทากับ 445 415 และ 356 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ
                  เมื่อเปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนเฉลี่ยระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก พืชคลุมดิน พบวา
                  ทุกกลุมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
                                      ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร  พบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ

                  โดยดินที่ปลูกหญาแฝกพันธุพระราชทาน มีปริมาณโพแทสเซียมสูงที่สุด เทากับ 473 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ไม
                  แตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธ  พันธุสงขลา 3 พันธุศรีลังกา มีปริมาณโพแทสเซียม
                  เทากับ 470 466 412 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม แตแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุรอยเอ็ด พันธุตรัง 2 พันธุ
                  ราชบุรี แปลงควบคุม พันธุนครสวรรค ถั่วเวอราโน และถั่วปนโต  มีปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 359 358 351

                  346 345 343 และ 323 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ หญาแฝกพันธุสุราษฎรธานีมีปริมาณโพแทสเซียม
                  ต่ําสุด 306 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม จะเห็นไดวาทุกตํารับการทดลองมีปริมาณโพแทสเซียมอยูในระดับต่ํากวาดิน
                  กอนปลูกเล็กนอย แปลงหญาแฝกลุมมีปริมาณโพแทสเซียมสูงที่สุดเทากับ 403 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม สวนหญา

                  แฝกดอน  แปลงควบคุม และพืชคลุมดิน เทากับ 381 456 และ 333  มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ เมื่อ
                  เปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดินเฉลี่ยระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก พืชคลุมดิน พบวา
                  มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ เชนเดียวกับหญาแฝกเปรียบเทียบกับพืชคลุมดิน แตเมื่อ
                  เปรียบเทียบหญาแฝกดอนกับหญาแฝกลุม พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ
                                      ระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร พบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ

                  ดินที่ปลูกหญาแฝกพันธุรอยเอ็ดมีปริมาณโพแทสเซียมที่สูงที่สุด เทากับ 452 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ไมแตกตาง
                  กันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุราชบุรี พันธุศรีลังกา และพันธุสงขลา 3  มีปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 368 364
                  363 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ แตแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธ พันธุนครสวรรค

                  พันธุตรัง 2 พันธุพระราชทาน ถั่วเวอราโน หญาแฝกพันธุสุราษฎรธานี  และแปลงควบคุม 358 357 354 342
                  341 311 และ 284 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ ถั่วปนโตมีปริมาณโพแทสเซียมต่ําสุด 257 มิลลิกรัมตอ
                  กิโลกรัม จะเห็นไดวาทุกตํารับการทดลองมีปริมาณโพแทสเซียมอยูในระดับต่ํากวาดินกอนปลูก โดยแปลงหญา
                  แฝกดอนมีปริมาณโพแทสเซียมสูงที่สุดเทากับ 384 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม สวนหญาแฝกลุม  พืชคลุมดิน และ

                  แปลงควบคุม เทากับ 347 299 และ 284  มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดินเฉลี่ยระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความ
                  แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
                                      เมื่อพิจารณาจากอัตราสวนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน

                  กอนและหลังการทดลอง พบวาดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร แปลงหญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด หญา
                  แฝกลุมพันธุตรัง 2 และแปลงควบคุมมีปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้น สวนที่ระดับความลึกที่ 15-30 เซนติเมตร
                  แปลงหญาแฝกลุมพันธุพระราชทาน หญาแฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธ และหญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มี
                  ปริมาณโพแทสเซียมที่เพิ่มขึ้น และดินที่ระดับความลึกที่ 30-50 เซนติเมตร หญาแฝกพันธุรอยเอ็ด มีปริมาณ

                  โพแทสเซียมเพิ่มขึ้นเล็กนอย จะเห็นไดวาหญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ดจะมีปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นทุกระดับ
                  ความลึก ยกเวนระดับความลึกที่ 15-30 เซนติเมตร สวนหญาแฝกและพืชคลุมดิน 2 ชนิด ทุกตํารับการทดลอง
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60