Page 62 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          44

                  ดอนพันธุประจวบคีรีขันธมีปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยสูงสุด 15.66 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร รองลงมาไดแก
                  แปลงหญาแฝกพันธุราชบุรี พันธุสงขลา 3 พันธุรอยเอ็ด พันธุตรัง 2 พันธุนครสวรรค พันธุพระราชทาน
                  พันธุศรีลังกา พันธุสุราษฎรธานี ถั่วปนโต และถั่วเวอราโน มีปริมาณความชื้นในดินเทากับ 15.41 15.20 15.13
                  14.54 13.48 13.25 12.84 12.63 10.88 และ 10.17 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ สวนแปลงควบคุมมี
                  ความชื้นในดินต่ําที่สุด 9.49 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร  เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยที่ระดับ 60
                  เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝกและพืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง
                  ทางสถิติ ซึ่งแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดินสูงสุด 14.92 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แปลงหญาแฝกลุมมี
                  ความชื้นในดิน 13.69 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แปลงพืชคลุมดินมีความชื้นในดิน 10.52 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                  สวนแปลงควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด 9.49 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                                        (4)  ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 100 เซนติเมตร
                                             ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 100 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่
                  15 พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ โดยแปลง
                  หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด 17.89 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร รองลงมาไดแก
                  แปลงหญาแฝกพันธุรอยเอ็ด พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุศรีลังกา พันธุราชบุรี พันธุตรัง 2 พันธุพระราชทาน
                  พันธุสุราษฎรธานี พันธุนครสวรรค ถั่วเวอราโน และถั่วปนโต มีปริมาณความชื้นในดินเทากับ 15.54 14.74
                  14.33 14.26 14.13 13.66 12.07 11.25  9.56 และ 9.24 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ สวนแปลง
                  ควบคุมมีความชื้นในดินต่ําที่สุด 8.70 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยที่
                  ระดับ 100 เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝกและพืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความแตกตางกันอยางมี
                  นัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ซึ่งแปลงหญาแฝกลุมมีความชื้นในดินสูงสุดเทากับ14.42 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                  ใกลเคียงกับแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดิน 13.95 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แปลงหญาแฝกมีความชื้นสูง
                  กวาแปลงพืชคลุมดินเทากับ 9.40 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และแปลงควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด 8.70
                  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                                             ในปที่ 1 พบวาตลอดระยะเวลาที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดิน แปลงที่ไม
                  ปลูกพืช แปลงหญาแฝกและพืชคลมุดิน ปริมาณความชื้นดินมีความสัมพันธกับปริมาณน้ําฝนในแตละเดือน โดย
                  แปลงหญาแฝกลุมและหญาแฝกดอนจะมีปริมาณความชื้นในดินสูงกวาแปลงพืชคลุมดินและแปลงควบคุม ถา
                  พิจารณาที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร ดินที่ปลูกหญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ดมีปริมาณความชื้นดินมากที่สุด
                  อาจเปนเพราะหญาแฝกดอนมีการใชน้ําในการเจริญเติบโตนอยกวาหญาแฝกลุม สอดคลองกับอภันตรี และ
                  คณะ (2548) รายงานวาหญาแฝกดอนมีการใชน้ําเฉลี่ย 259 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกอตอวัน ใชน้ํานอยกวา
                  หญาแฝกลุมที่ใชน้ําเฉลี่ย 316 ลูกบาศกเซนติเมตรตอกอตอวัน โดยพันธุหญาแฝกที่ใชน้ํานอยที่สุดคือ พันธุ
                  รอยเอ็ด พันธุราชบุรี นอกจากนี้น้ําหนักใบหญาแฝกดอนที่ตัดใบคลุมดินทําใหลดอุณหภูมิ และลดการระเหย
                  ของน้ําในดินบนได ใบหญาแฝกดอนมีแนวโนมยอยสลายไดชาเนื่องจากใบมีลักษณะแข็งกวาใบหญาแฝกลุม
                  ทั้งนี้ถานําหญาแฝกดอนปลูกรวมกับพืชผักและปลูกพืชไร จะมีความเหมาะสมมากที่สุด สําหรับระดับความลึกที่
                  100 เซนติเมตร ดินที่ปลูกหญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นดินมากที่สุด จะมีความสัมพันธกับความ
                  ยาวราก และมวลชีวภาพของราก จึงเหมาะสมกับการปลูกหญาแฝกรวมกับพื้นที่ปลูกไมผลและไมยืนตน ที่มี
                  ระบบรากลึก รองลงมาไดแก หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด  ซึ่งสอดคลองกับเอกสารแนะนําของสํานักวิจัยและ
                  พัฒนาการจัดการที่ดิน (มปป.) การเลือกหญาแฝกลุมหรือหญาแฝกดอนใชประโยชนใหเหมาะสมกับพื้นที่ตอง
                  คํานึงถึงพืชหลักและการดูแลปฏิบัติ เชน พืชไรควรใชหญาแฝกดอน สําหรับไมผล ควรใชหญาแฝกลุม
                  นอกจากนี้ในทางปฐพีกลศาสตรไดนําหญาแฝกมาวิจัยในเชิงวิศวกรรม โดยหญาแฝกจะสามารถสรางความ
                  แข็งแรงของมวลดินไดซึ่งหญาแฝกพันธุสงขลา 3 จะมีคาความแข็งแรงของมวลดินมากกวาหญาแฝกดอนพันธุ
                  นครสวรรค  รากหญาแฝกจะมีสวนชวยเพิ่มคาความเชื่อมแนนของดินใหเพิ่มขึ้นซึ่งจะมีผลตออัตราสวนความ
                  ปลอดภัยของลาดคันดินได ทั้งนี้ความแข็งแรงของมวลดินจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณความชื้นของดินที่
                  เปลี่ยนไป (พานิช และคณะ, 2545)
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67