Page 53 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          35
                  ทางสถิติ แตเมื่อเปรียบเทียบระหวางหญาแฝกกับพืชคลุมดิน พบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ

                  เชนเดียวกับหญาแฝกดอนเปรียบเทียบหญาแฝกลุม
                                      จะเห็นวาทุกตํารับการทดลองมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ และเมื่อ
                  พิจารณาอัตราสวนปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับดินกอนการทดลองโดยทุก
                  ตํารับการทดลองมีแนวโนมปริมาณฟอสฟอรัสลดลงเห็นไดอยางชัดเจนที่ระดับความลึก 0-15 15-30 และ 30-

                  50 เซนติเมตร สอดคลองกับกมลาภา (2556) ที่รายงานวาในดินชุดพัทลุง แปลงควบคุม และแปลงปลูกหญา
                  แฝกทั้ง 3 ระดับ มีปริมาณฟอสฟอรัสที่ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับดินกอนการทดลอง ภาคภูมิ (2546) ที่รายงาน
                  วาชุดดินโพนพิสัย การปลูกหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธ พันธุสุราษฎรธานี ทั้งที่ปลูกแบบพืชเดี่ยวหรือแบบที่
                  ปลูกรวมกับถั่วคุดซูนั้น ทําใหปริมาณฟอสฟอรัสลดลง อาทิตย (2544) ที่รายงานวาภายหลังจากการปลูกถั่ว

                  คุดซูรวมกับระบบหญาแฝกเปนพืชคลุมดินไว 1 ป พบวา ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินที่วิเคราะหได
                  มีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณฟอสฟอรัสกอนการทดลอง กิ่งกานท (2552)
                  รายงานวาแปลงที่ปลูกหญาแฝก ปุยพืชสดที่ไมมีการใสปุยเคมี และแปลงที่ปลูกถั่วพรา ถั่วแปบ ถั่วพุม มี
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนของดินมากที่สุด  สวนแปลงที่ปลูกหญาแฝกหลังสิ้นสุดการทดลองปริมาณ

                  ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนของดินมีแนวโนมลดลง จากการที่ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินลดลงนั้น อาจเปน
                  เพราะสมบัติทางเคมีของชุดดินวังสะพุงมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินอยูในระดับต่ําอยูแลว ทั้งนี้
                  แปลงควบคุมที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่ลดลงเพราะไมมีสิ่งปกคลุมบริเวณผิวดินทําใหฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน

                  บางสวนถูกชะออกไป สวนหญาแฝกและพืชคลุมดินชวงของการเจริญเติบโตของพืชจะดึงฟอสฟอรัสในดิน
                  นํามาใช และติดไปกับสวนของพืชที่เอาออกไปจากดิน หรืออาจจะถูกตรึงอยูในดินยากที่พืชจะนําไปใช
                  ประโยชนซึ่งขึ้นอยูกับ 1) ชนิดและสวนประกอบและสภาพของดิน 2) pH ของดิน3) ปริมาณของไอออนบวก
                  และสารประกอบของเหล็ก อะลูมินัม แมงกานิส แคลเซียม แมกนีเซียม 4) ปริมาณของไฮดรอกไซดของเหล็ก
                  และอะลูมินัม 5) ปริมาณของแรดินเหนียวตางๆ (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58