Page 56 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          38


                  มีปริมาณโพแทสเซียมลดลง ซึ่งรากหญาแฝกจะดึงเอาโพแทสเซียมที่อยูในระดับลึก ๆ ขึ้นมาสะสมในดินบน
                  สอดคลองกับกมลาภา (2556) ที่รายงานวา ดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร แปลงที่ปลูกหญาแฝกมี
                  แนวโนมปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้น พันธุสุราษฎรธานีมีปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นมากที่สุด รองลงมาไดแก
                  ศรีลังกา สงขลา 3 มีสวนดินที่ระดับความลึกที่ 15-30 และ 30-50 เซนติเมตร ทุกตํารับการทดลองมีปริมาณ

                  โพแทสเซียมลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับดินกอนการทดลอง ซึ่งแตละพันธุของหญาแฝกดินที่ระดับความลึก 15-
                  30 เซนติเมตร มีความแตกตางกันโดยหญาแฝกพันธุสงขลา 3  และพระราชทานมีปริมาณโพแทสเซียมลดลง
                  มากที่สุด สวนดินที่ระดับความลึกที่ 30-50 เซนติเมตร ทุกพันธุมีปริมาณโพแทสเซียมไมแตกตางกันทางสถิติ
                  พันธุสงขลา 3 มีปริมาณโพแทสเซียมต่ําสุด นอกจากนี้โพแทสเซียมที่เปนองคประกอบของซากพืชก็ถูก

                  ปลดปลอยออกมาในกระบวนการสลายตัวดวย (ยงยุทธ และคณะ, 2551) ซึ่งธาตุอาหารที่สําคัญในดินหลาย
                  ชนิดบริเวณหญาแฝก พืชคลุมดิน เนื่องจากจุลินทรียในดินทําหนาที่ยอยสลาย และแปรสภาพสารประกอบ
                  อินทรียในดินและชิ้นสวนของเศษซากพืชใหอยูในรูปที่เปนประโยชนตอพืช (กมลาภา, 2552) นอกจากนี้อาจจะ
                  เกี่ยวของกับปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่เพิ่มลงไปในดิน ทําใหดินมีคาความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนสูง

                  โพแทสเซียมที่เปนประโยชนถูกดูดซับไวไดมาก (กิ่งกานท, 2552) ถึงแมวาในพื้นที่การทดลองที่มีการปลูก
                  หญาแฝกบางพันธุจะมีปริมาณโพแทสเซียมลดลงแตยังคงมีปริมาณโพแทสเซียมอยูในระดับที่สูงมาก เนื่องจาก
                  สมบัติทางเคมีของชุดดินวังสะพุงมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนระดับสูง

                                      จากผลการวิเคราะหสมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลองของชุดดินวังสะพุง ตํารับ
                  การทดลองตาง ๆ มีอิทธิพลตอสมบัติทางเคมี ทําใหสมบัติทางเคมีมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น โดยเฉพาะปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดินที่เพิ่มขึ้น ดินที่ระดับความลึก 0-50 เซนติเมตร พื้นที่ที่มีการปลูกหญาแฝกลุมพันธุศรีลังกา
                  พันธุสงขลา 3 มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินมากที่สุด รองลงมาไดแก หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด แตถาพิจารณา
                  เปรียบเทียบกลุมหญาแฝกตั้งแตระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร กลุมหญาแฝกดอนและหญาแฝกลุม ไมมี

                  ความแตกตางกันทางสถิติ  มวลชีวภาพรากของพันธุหญาแฝกอาจสงผลตอสมบัติทางเคมี เชนหญาแฝกลุมพันธุ
                  สงขลา 3 มีมวลชีวภาพรากเฉลี่ยรวม 2 ป สูงสุด 223 กิโลกรัมตอไร ทําใหปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีแนวโนม
                  เพิ่มขึ้น ทั้งนี้การนําใบหญาแฝกที่ไดจากการตัดมาใชคลุมดินนี้ จะเปนการชวยใหเกิดสมดุลทางธรรมชาติ ไดแก

                  การเพิ่มอินทรียวัตถุ และธาตุอาหารแกดิน เพิ่มปริมาณจุลินทรียและสัตวในดิน ทําใหดินมีชีวิต หนาดินเกิด
                  ความอุดมสมบูรณ แตอยางไรตามถาหากมีการนําใบหญาแฝกไถกลบลงดินจะสามารถยอยสลายและปลด
                  ปลอยธาตุอาหารไดมากยิ่งขึ้น จากรายงานของประไพ และคณะ (2541) ไดศึกษาการยอยสลายและการ
                  ปลดปลอยธาตุอาหารพืชจากใบหญาแฝก พบวาหากมีการฝงหญาแฝกลงในดินทําใหหญาแฝกสามารถยอย

                  สลายไดเร็วและมากกวาวางหญาแฝกไวบนดิน และยังปลดปลอยธาตุอาหารอนินทรีย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสที่
                  เปนประโยชนและโพแทสเซียมไดมากกวา
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61