Page 61 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          43


                                2.2.2  ปริมาณความชื้นในดิน
                                       ผลของการตรวจวัดปริมาณความชื้นตลอดหนาตัดดินที่ระดับความลึก 10 40 60 และ
                  100 เซนติเมตร โดยใชเครื่องวัดความชื้น ใชหลักวิธี Time Domain Reflectometer (TDR) ตรวจวัดปริมาณ
                  ความชื้นดินปที่ 1 ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 ปที่ 2 ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2558
                  ถึงเดือนสิงหาคม 2559  ระยะเวลา 2 ป พบวา
                                      1) ปริมาณความชื้นในดิน ปที่ 1 จากการเก็บขอมูลความชื้นดินในภาพรวมหญาแฝก
                  มีความชื้นในดินมากกวาพืชคลุมดินและแปลงควบคุม หญาแฝกดอนจะมีความชื้นมากกวาหญาแฝกลุมทุก
                  ระดับความลึก ยกเวนระดับความลึกที่ 100 เซนติเมตร หญาแฝกสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด
                  โดยหญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ดมีปริมาณความชื้นในดินสูงทุกระดับความลึก ยกเวนที่ระดับความลึกที่ 60

                  เซนติเมตร หญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธมีความชื้นในดินสูงที่สุด มีรายละเอียดดังตอไปนี้
                                           (1) ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร
                                               ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่
                  12  พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ โดยแปลง
                  หญาแฝกพันธุรอยเอ็ดมีปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยสูงสุด 15.98 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร  รองลงมาไดแก
                  แปลงหญาแฝกพันธุพระราชทาน พันธุตรัง 2 พันธุสุราษฎรธานี พันธุราชบุรี ถั่วปนโต หญาแฝกพันธุศรีลังกา
                  พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุสงขลา 3 พันธุนครสวรรค และถั่วเวอราโน มีปริมาณความชื้นในดินเทากับ 13.96

                  13.01 12.79 12.13 12.02 11.87 11.22 11.05 9.09 และ 7.08 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ สวน
                  แปลงควบคุมมีความชื้นในดินเฉลี่ยต่ําสุด 6.76 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นในดิน
                  เฉลี่ยที่ระดับ 10 เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝกและพืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความแตกตางกัน
                  อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ซึ่งแปลงหญาแฝก ลุมมีความชื้นในดินสูงสุด 12.54 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                  ใกลเคียงกับแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดิน 12.10 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร สูงกวาแปลงพืชคลุมดินที่มี
                  ความชื้นในดิน 9.55 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และแปลงควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด 6.76 เปอรเซ็นตโดย
                  ปริมาตร จะเห็นวาเดือนกันยายน 2558 มีปริมาณความชื้นสูงที่สุด เนื่องจากมีปริมาณน้ําฝน 261.5 มิลลิเมตร
                  (ตารางภาคผนวกที่ 1)
                                         (2)  ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร

                                             ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่ 13
                  พบวาทุกเดือนที่วัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ โดยแปลงหญาแฝก
                  พันธุรอยเอ็ดมีปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยสูงที่สุด 15.67 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร รองลงมาไดแก แปลงหญา
                  แฝกพันธุราชบุรี พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุตรัง 2 พันธุสงขลา 3 พันธุนครสวรรค พันธุสุราษฎรธานี พันธุ
                  พระราชทาน พันธุศรีลังกา ถั่วปนโต และถั่วเวอราโน มีปริมาณความชื้นในดินเทากับ 14.97 14.02 13.82
                  13.72 13.62 13.62 12.64 12.38 11.59 และ 9.95 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ แปลงควบคุมมี
                  ความชื้นในดินต่ําที่สุด 8.12 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยที่ระดับ 40

                  เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝกและพืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง
                  ทางสถิติ  ซึ่งแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดินสูงสุด 14.57 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ใกลเคียงกับแปลงหญา
                  แฝกลุมที่มีความชื้นในดิน 13.24 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร รักษาปริมาณความชื้นในดินสูงกวาแปลงพืชคลุมดิน
                  ความชื้นในดิน 10.77 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และแปลงควบคุมมีความชื้นในดิน 8.12 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                                      (3)  ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 60 เซนติเมตร
                                              ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 60 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่ 14
                  พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ แปลงหญาแฝก
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66