Page 50 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          32
                                2.1.2 ความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)

                                      จากผลการศึกษาความเปนกรดเปนดางของดินกอนการปลูกหญาแฝก พืชคลุมดิน ที่
                  ระดับความลึก 0-15 15-30 และ 30-50 เซนติเมตร พบวามีคาเปนกลาง เทากับ 6.54 6.42 และ 6.39
                  ตามลําดับ และมีคาเฉลี่ยตลอดความลึก 0-50 เซนติเมตร เทากับ 6.45  ดังแสดงในตารางที่ 8  เมื่อพิจารณา
                  คาความเปนกรดเปนดางของดินแตละความลึกหลังการทดลองพบวา ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร ไมมี
                  ความแตกตางกันทางสถิติ โดยหญาแฝกพันธุราชบุรีมีแนวโนมมากที่สุด 7.70 รองลงมาไดแก หญาแฝกพันธุ
                  ประจวบคีรีขันธ พันธุพระราชทาน พันธุนครสวรรค พันธุรอยเอ็ด พันธุสุราษฎรธานี พันธุตรัง 2 พันธุศรีลังกา
                  ถั่วปนโต ควบคุม และถั่วเวอราโน เทากับ 7.6 7.6 7.5 7.5 7.5 7.43 7.37 7.30 7.27 และ 7.20 หญาแฝก
                  พันธุสงขลา 3 มีปฏิกิริยาของดินต่ําสุดเทากับ  7.17 จะเห็นไดวาหญาแฝกลุมมีปฏิกิริยาของดินเปนดางอยาง
                  ออน 7.58 หญาแฝกลุมมีปฏิกิริยาของดินเปนดางอยางออน 7.41 แปลงควบคุม และพืชคลุมดิน มีปฏิกิริยา

                  ของดินเปนกลาง 7.27 และ 7.25
                                     คาปฏิกิริยาของดินที่ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร มีความแตกตางกันอยางมี
                  นัยสําคัญยิ่งทางสถิติ หญาแฝกลุมพันธุพระราชทานมีปฏิกิริยาของดินสูงที่สุดมีคาเทากับ 7.73 ไมแตกตางกัน
                  ทางสถิติกับแปลงควบคุม หญาแฝกพันธุราชบุรี พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุนครสวรรค พันธุรอยเอ็ด พันธุ
                  ศรีลังกา พันธุสุราษฎรธานี พันธุตรัง 2 และพันธุสงขลา 3  เทากับ 7.63 7.57 7.53 7.37 7.33 7.33 7.27
                  7.20  และ 7.13 ตามลําดับ แตแตกตางกันทางสถิติกับพืชคลุมดินชนิดถั่วเวอราโน และถั่วปนโตมีปฏิกิริยาของ
                  ดินเทากับ  6.97 และ 6.90 ตามลําดับ จะเห็นไดวาหญาแฝกลุมมีปฏิกิริยาของดินสูงกวาแปลงควบคุม หญา

                  แฝกดอน และพืชคลุมดิน โดยหญาแฝกลุมมีปฏิกิริยาของดินเปนดางอยางออนเทากับ 7.45 แปลงควบคุมมี
                  ปฏิกิริยาของดินเปนดางอยางออนเทากับ 7.63 หญาแฝกดอน และพืชคลุมดินมีปฏิกิริยาของดินเปนกลาง
                  เทากับ 7.33 และ 6.94 ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางปฏิกิริยาของดินเฉลี่ยระหวางแปลงควบคุม
                  แปลงหญาแฝก และแปลงพืชคลุมดิน พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ เชนเดียวกับแปลง
                  หญาแฝกและแปลงพืชคลุมดิน แตเมื่อเปรียบเทียบปฏิกิริยาของดินระหวางแปลงหญาแฝกดอน และแปลงหญา
                  แฝกลุม พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ
                                     สําหรับคาปฏิกิริยาของดินที่ระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร พบวาไมมีความแตกตาง
                  กันทางสถิติ โดยหญาแฝกพันธุพระราชทาน มีแนวโนมปฏิกิริยาของดินสูงสุดเทากับ 7.63 รองลงมา ไดแก
                  พันธุราชบุรีควบคุม หญาแฝกพันธุรอยเอ็ด พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุศรีลังกา พันธุนครสวรรค พันธุตรัง 2

                  พันธุสุราษฎรธานี และพันธุสงขลา 3  เทากับ 7.50 7.47 7.47 7.30 7.30 7.23 7.20 7.13 และ 7.13
                  ตามลําดับถั่วปนโต และถั่วเวอราโนมีปฏิกิริยาของดินต่ําสุดเทากัน 6.90 จะเห็นไดวาแปลงควบคุม มีปฏิกิริยา
                  ของดินเปนดางอยางออน 7.47 หญาแฝกลุม หญาแฝกดอน และพืชคลุมดิน มีปฏิกิริยาของดินเปนกลาง 7.38
                  7.28 และ 6.9 ตามลําดับ
                                     จากผลการศึกษาจะเห็นไดวา ปฏิกิริยาของดินที่ระดับความลึก 0-15 15-30 และ 30-
                  50 เซนติเมตร ดินที่ปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน และดินที่ไมไดปลูกอะไร มีปฏิกิริยาของดินเพิ่มขึ้นจากกอน
                  การปลูก แปลงควบคุมปฏิกิริยาของดินมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอาจมาจากการที่บริเวณผิวหนาดินของแปลง

                  ควบคุมไมมีสิ่งปกคลุม ทําใหมีน้ําไหลบาบนผิวดินไดมาก และเมื่อน้ําฝนกระทบกับผิวหนาดินโดยตรง มีสวน
                  ชะลางกรดอินทรียออกไปจากผิวหนาดินบางสวน  จึงทําใหมีปฏิกิริยาของดินเพิ่มขึ้น สวนแปลงหญาแฝก และ
                  พืชคลุมดินนั้นนาจะมาจากการที่มีสิ่งปกคลุมดินไวบนผิวดิน นอกจากนี้รากของพืชนาจะมีสวนทําใหเพิ่มการ
                  แทรกซึมของน้ําลงในดินไดมากขึ้นเชนกัน โดยรากหญาแฝกจะมีความยาวกวาพืชตระกูลถั่วคลุมดิน ที่มีระบบ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55