Page 48 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          30
                                      ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ  โดย
                  หญาแฝกพันธุศรีลังกามีแนวโนมปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงสุด 3.33 เปอรเซ็นต ไมแตกตางกันทางสถิติกับ

                  หญาแฝกพันธุพระราชทาน พันธุรอยเอ็ด  พันธุราชบุรี พันธุสงขลา 3 และพันธุประจวบคีรีขันธ มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดินเทากับ 3.23 3.12 3.03 2.91 และ 2.86 เปอรเซ็นต ตามลําดับ แตมีความแตกตางกันทาง
                  สถิติกับหญาแฝกพันธุนครสวรรค พันธุตรัง 2 ถั่วเวอราโน หญาแฝกพันธุสุราษฎรธานี และแปลงควบคุม มี
                  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินเทากับ 2.77 2.74 2.70 2.66 และ 2.36 เปอรเซ็นต ตามลําดับ และถั่วปนโตมี
                  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ําสุด ซึ่งมีคาใกลเคียงกันกับดินที่ไมปลูกอะไรเลย 2.34 เปอรเซ็นต จะเห็นไดวาการ
                  ปลูกหญาแฝก หรือพืชคลุมดิน จะมีปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงกวาแปลงควบคุม หญาแฝกลุมมีอินทรียวัตถุ
                  ระดับคอนขางสูง 2.97 เปอรเซ็นตใกลเคียงกับ หญาแฝกดอนมีอินทรียวัตถุ 2.95 เปอรเซ็นต พืชคลุมดินมี
                  อินทรียวัตถุคอนขางสูงเชนเดียวกัน 2.52 เปอรเซ็นตแปลงควบคุม (ไมมีการปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน) มี
                  อินทรียวัตถุอยูที่ระดับปานกลาง มีคาเทากับ 2.36 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืช

                  คลุมดิน พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 23) เชนเดียวกับหญาแฝก
                  เปรียบเทียบพืชคลุมดิน แตเมื่อเปรียบเทียบระหวางหญาแฝกดอนกับหญาแฝกลุม พบวาไมมีความแตกตางกัน
                  ทางสถิติ
                                     ที่ระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร พบวาปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีความแตกตางกัน
                  อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ หญาแฝกพันธุศรีลังกามีอินทรียวัตถุในดินสูงสุด 2.63 เปอรเซ็นต ไมแตกตางกัน
                  ทางสถิติกับพันธุพระราชทาน พันธุรอยเอ็ด พันธุสงขลา 3 พันธุสุราษฎรธานี พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุราชบุรี
                  พันธุนครสวรรค และแปลงควบคุม มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินเทากับ 2.58 2.53 2.50 2.48 2.38 2.20 2.17

                  และ 2.17 เปอรเซ็นต ตามลําดับ แตมีความแตกตางกันทางสถิติกับถั่วเวอราโน หญาแฝกพันธุตรัง 2 และถั่วปนโต
                  มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินเทากับ 2.00 1.92 และ 1.15 เปอรเซ็นต ตามลําดับ จะเห็นไดวาการปลูกหญาแฝก
                  จะมีปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงกวาแปลงพืชคลุมดิน และแปลงควบคุม โดยหญาแฝกลุมมีแนวโนมปริมาณ
                  อินทรียวัตถุมากที่สุดซึ่งอยูในระดับปานกลาง 2.42 เปอรเซ็นต หญาแฝกดอนมีอินทรียวัตถุ 2.32 เปอรเซ็นต
                  แปลงควบคุมมีอินทรียวัตถุ 2.17 เปอรเซ็นต สวนพืชคลุมดินมีอินทรียวัตถุในดินต่ําสุดเทากับ 1.58 เปอรเซ็นต
                  เมื่อเปรียบเทียบปริมาณอินทรียวัตถุในดินเฉลี่ยที่ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืชคลุมดิน พบวาไมมี
                  ความแตกตางกันทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 24) สวนหญาแฝกเปรียบเทียบพืชคลุมดิน มีความแตกตางกัน
                  อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ แตเมื่อเปรียบเทียบระหวางหญาแฝกดอนกับหญาแฝกลุม พบวาไมมีความแตกตาง
                  กันทางสถิติ

                                      ที่ระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร พบวาปริมาณของอินทรียวัตถุในดินมีความ
                  แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ หญาแฝกพันธุศรีลังกามีปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงสุดเทากับ 2.85
                  เปอรเซ็นต ไมแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุสงขลา 3 พันธุสุราษฎรธานี พันธุพระราชทาน  มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดินเทากับ 2.66 2.61 2.58 เปอรเซ็นต ตามลําดับ แตแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุ
                  ประจวบคีรีขันธ พันธุรอยเอ็ด พันธุราชบุรี ถั่วเวอราโน หญาแฝกพันธุนครสวรรค พันธุตรัง 2 แปลงควบคุม
                  และถั่วปนโต   2.08  2.03 1.98  1.97 1.84 1.84 1.63 และ 1.32 เปอรเซ็นต ตามลําดับ จะเห็นไดวาการ
                  ปลูกหญาแฝก จะมีปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงกวาแปลงพืชคลุมดิน และแปลงควบคุม โดยหญาแฝกลุมมี

                  อินทรียวัตถุระดับคอนขางสูง 2.51 เปอรเซ็นต หญาแฝกดอนมีอินทรียวัตถุระดับปานกลาง 1.98 เปอรเซ็นต
                  และแปลงพืชคลุมดินมีอินทรียวัตถุระดับปานกลาง 1.65 เปอรเซ็นต ใกลเคียงกับดินที่ไมปลูกอะไร (ควบคุม) มี
                  อินทรียวัตถุ 1.63 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืชคลุมดิน พบวาทุกกลุมมี
                  ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ  (ตารางภาคผนวกที่ 25)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53