Page 36 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       20


                       มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตลอดชวง 40-48 เดือน ในขณะที่หญาแฝกพันธุศรีลังกา พันธุพระราชทาน พันธุ
                       สงขลา 3 พันธุตรัง 2 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในชวงอายุ 40-44 เดือน และลดลงชวงอายุ 44-48 เดือน ซึ่ง

                       พันธุพระราชทานมีปริมาณน้ําหนักใบในระดับต่ําตลอดชวงอายุ 40-48 เดือน  นอกจากนี้ เมื่อ
                       พิจารณาน้ําหนักใบของพืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณลดลงอยางตอเนื่องจนกระทั่งเมื่ออายุ 48
                       เดือน จากการเปลี่ยนแปลงของน้ําหนักใบหญาแฝกและพืชคลุมดินสงผลใหน้ําหนักใบรวมตั้งแตอายุ

                       40-48 เดือน (ปที่ 2) แตกตางกัน โดยหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธมีปริมาณน้ําหนักทั้งหมดสูงสุด
                       1,268.17 กิโลกรัมตอไรตอป รองลงมาคือ พันธุรอยเอ็ด พันธุศรีลังกา และพันธุสุราษฎรธานี  สวน
                       พืชคลุมดินชนิดถั่วปนโต 628.95 กิโลกรัมตอไรตอป และถั่วเวอราโน 746.28 กิโลกรัมตอไรตอป จะ

                       เห็นไดวาพืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด มีน้ําหนักใบนอยกวาหญาแฝก ยกเวนหญาแฝกพันธุพระราชทานมี
                       น้ําหนักใบทั้งหมดต่ําสุด 564.95 กิโลกรัมตอไรตอป โดยพืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด เปนประเภทเถาเลื้อย
                       และประเภทพุมเตี้ย ไมนิยมไถกลบเปนปุยพืชสดบํารุงดิน เพราะมีมวลชีวภาพต่ํา พืชคลุมดินชนิด

                       ถั่วปนโต และถั่วเวอราโนการเจริญเติบโตลดลงเมื่ออายุ 40 เดือน โดยเฉพาะถั่วเวอราโนเนื่องจากเปน
                       พืชอายุสั้นประมาณ 2-3 ป จึงตองดําเนินการปลูกใหม สวนหญาแฝกมีการแตกหนอใหมอยูเสมอทําให
                       ไมตองเสียคาใชจายในการปลูกใหม สําหรับหญาแฝกดอนพันธุราชบุรีมีน้ําหนักใบสูงที่สุดที่อายุ 32

                       เดือน และ 36 เดือน เมื่อพิจารณาปริมาณน้ําหนักใบซึ่งสะทอนถึงปริมาณมวลชีวภาพที่ตัดเพื่อคลุม
                       ดินทั้งในปที่ 1 (28-36 เดือน) และปที่ 2 (40-48 เดือน) จะเห็นวาจากการตัดใบหญาแฝกและพืชคลุม
                       ดินทุก 4 เดือน ในปที่ 2 น้ําหนักใบมีแนวโนมเพิ่มขึ้นมากกวาปแรก ยกเวนหญาแฝกพันธุราชบุรีที่

                       น้ําหนักใบลดลง เมื่อพิจารณาปริมาณน้ําหนักที่ไดรับจากพันธุตาง ๆ มีความแตกตางกันนั้นเปน
                       เพราะวามีปจจัยที่เปนองคประกอบที่ชวยใหน้ําหนักใบผลผลิตไดรับมากหรือนอย อาจขึ้นอยูกับความ
                       ยาวของใบหญาแฝก โดยวิทูร (2538) รายงานวาหญาแฝกที่มีการเจริญเติบโตดีทั้งดานความสูงและ
                       การแตกกอ มีแนวโนมไดรับปริมาณน้ําหนักหญาแฝกสูง เชนการแตกกอหญาแฝกดอนมีการแตกกอ
                       หนาแนนละเอียดกวาหญาแฝกลุม การออกดอกสวนใหญหญาแฝกดอนออกดอกชากวาหญาแฝกลุม
                       แสดงวาหญาแฝกดอนมีการเจริญเติบโตทางตน และทางใบนานกวาหญาแฝกลุม นอกจากนี้พืชที่
                       ไดรับอิทธิพลปจจัยทางดิน เชนปริมาณน้ําฝนทําใหมีความชื้นเปลี่ยนแปลงตลอดชวงการศึกษา
                       ลักษณะของชุดดิน สงผลตอปริมาณน้ําหนักใบเชนกัน กมลาภา (2556) พบวาชุดดินพัทลุงในปที่ 1
                       น้ําหนักใบหญาแฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธสูงสุดเทากับ 6.00 กิโลกรัมตอกอ สวนหญาแฝกลุมพันธุ
                       ศรีลังกามีน้ําหนักใบต่ําสุดเทากับ 4.60 กิโลกรัมตอกอ ประภา (2554) รายงานวาในชุดดินปราจีน
                       หญาแฝกดอน 2 พันธุ และหญาแฝกลุม 3 พันธุ เมื่อมีการตัดใบคลุมดิน พบวาหญาแฝกดอนพันธุ
                       รอยเอ็ดมีน้ําหนักใบสูงสุดคิดเปน 15.54 ตันตอไร  รองลงมาไดแกพันธุศรีลังกา น้ําหนักใบ 12.65 ตัน
                       ตอไร นอกจากนี้ปรีชา และสุเมธ (2543) พบวาชุดดินมาบบอนน้ําหนักมวลชีวภาพใบและรากของ
                       หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ดจะมีน้ําหนักมวลชีวภาพดีที่สุด รองลงมาพันธุสงขลา 3  สมศักดิ์ และ
                       คณะ (2544) พบวา น้ําหนักแหงของหญาแฝกที่ปลูกในดินทราย โดยปลูกหญาแฝกดอน 6 พันธุ และ
                       หญาแฝกลุม 11 พันธุ จากการเก็บเกี่ยว 6 ครั้ง ตลอดการทดลอง 1 ป หญาแฝกดอนมีน้ําหนักแหง
                       เฉลี่ย 1,179 กิโลกรัมตอไรตอป มากกวาหญาแฝกลุมน้ําหนักเฉลี่ย 555 กิโลกรัมตอไรตอป โดยหญา
                       แฝกสายพันธุราชบุรีมีแนวโนมใหผลผลิตน้ําหนักแหงสูงสุด คือ 1,518 กิโลกรัมตอไรตอป เนื่องจาก
                       หญาแฝกดอนจะเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่คอนขางแหงแลง และดินมีการระบายน้ําคอนขางดี
                       (สํานักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, 2547)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41