Page 38 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        25

                                                  ผลการทดลองและวิจารณ



                          การศึกษาการจัดการดินเพื่อปลูกมันสําปะหลังในกลุมชุดดินที่ 56 จังหวัดตาก โครงการนํารอง

                   การผลิตพืชตามเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแขงขันในประชาคมอาเซียน
                   โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน การเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง และผลผลิตมัน

                   สําปะหลัง รวมถึงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ มีผลการทดลอง ดังตอไปนี้

                   1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน

                            คาความเปนกรดเปนดางของดิน พบวา กอนการทดลองดินมีคาความเปนกรดเปนดางอยูใน

                   ระดับกรดจัดถึงกรดปานกลาง (pH 5.2-5.6) หลังการทดลองคาความเปนกรดเปนดางของดินมีการ
                   เปลี่ยนแปลงเล็กนอย โดยตํารับการทดลองที่ 1 2 และ 3 มีคาลดลงจาก 5.6 ในทุกตํารับการทดลองเปน

                   5.4 5.3 และ 5.2 ตามลําดับ อาจเปนผลเนื่องมาจากมีการใชปุยเคมี สอดคลองกับผลการทดลองของยุทธ

                   ชัย (2530) ซึ่งพบวาการใชปุยเคมีทําใหความเปนกรดเปนดางของดินลดลง เนื่องจากอนุภาคของปุยบาง
                   ชนิด เชน แอมโมเนียมไออน สามารถเขาไปไลที่ไฮโดรเจนไอออนที่ไมถูกดูดยึดเพิ่ม ทําใหดินเปนกรด

                   เพิ่มขึ้น สวนตํารับการทดลองที่ 4 และ 5 มีคาเพิ่มขึ้นเล็กนอยจาก 5.2 เปน 5.5 ทั้ง 2 ตํารับการทดลอง
                   เนื่องจากมีการใสปูนโดโลไมทกอนปลูกมันสําปะหลังในอัตรา 300 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 6)

                          ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน พบวา กอนการทดลองดินมีปริมาณอินทรียวัตถุเทากับ 0.94-1.05

                   เปอรเซ็นต จัดอยูในระดับต่ํา หลังการทดลองปริมาณอินทรียวัตถุในทุกตํารับการทดลองมีแนวโนมลดลง
                   โดยตํารับการทดลองที่ 3 มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงสุดเทากับ 0.68 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ ตํารับการ

                   ทดลองที่ 4 1 2 และ 5 มีปริมาณอินทรียวัตถุเทากับ 0.65 0.63 0.62 และ 0.57 เปอรเซ็นต ตามลําดับ
                   ปริมาณอินทรียวัตถุมีแนวโนมลดลงทุกตํารับการทดลอง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกิจกรรมของจุลินทรียในดิน

                   มีการยอยสลายเศษซากพืชจึงทําใหคาวิเคราะหดินที่ไดต่ํากวาการทดลองเล็กนอย (ตารางที่ 6)

                          ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน พบวา กอนการทดลองดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                   อยูในชวง 1-4 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม จัดอยูในระดับต่ํามาก หลังการทดลองปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน

                   ประโยชนในดินทุกตํารับการทดลองมีคาเพิ่มขึ้นอยางชัดเจน อยูในระดับสูงถึงสูงมาก (37-63 มิลลิกรัมตอ

                   กิโลกรัม) โดยตํารับการทดลองที่ 5 มีปริมาณสูงสุดเทากับ 63 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม รองลงมาคือตํารับที่ 1
                   4 3 และ 2 มีปริมาณเทากับ 47 41 39 และ 37 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ ปริมาณฟอสฟอรัสที่

                   เพิ่มขึ้นเปนผลเนื่องมาจากมีการใชปุยฟอสฟอรัส พืชไมสามารถนําไปใชไดทั้งหมด จึงสะสมอยูในดิน
                   (ตารางที่ 6)

                          ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน พบวา ดินกอนการทดลองมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปน

                   ประโยชนเทากับ 30 และ 40 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม จัดอยูในระดับต่ํา หลังการทดลองปริมาณโพแทสเซียม
                   ที่เปนประโยชนในดินทุกตํารับการทดลองมีคาเพิ่มขึ้นขัดเจน อยูในระดับสูงมาก (110-260 มิลลิกรัมตอ

                   กิโลกรัม) ซึ่งโพแทสเซียมมีความสําคัญในการสรางและการเคลื่อนยายอาหารพวกแปงและน้ําตาลไปเลี้ยง

                   สวนที่เจริญเติบโต และสงไปเก็บไวเปนเสบียงที่หัวหรือลําตน ดังนั้นพืชพวกออย มะพราว และมัน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43