Page 19 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
บทที่ 3
การตรวจเอกสาร
3.1 น ้าเสียชุมชน
กรมควบคุมมลพิษ (2545) ได้กล่าวเกี่ยวกับน้ าเสีย ไว้ดังนี้
น้ าเสีย หมายถึง น้ าที่มีสิ่งเจือปนต่างๆ มากมาย จนกระทั่งกลายเป็นน้ าที่ไม่เป็นที่ต้องการ และ
น่ารังเกียจของคนทั่วไป ไม่เหมาะสมส าหรับใช้ประโยชน์อีกต่อไป หรือถ้าปล่อยลงสู่ล าน้ าธรรมชาติ ก็จะ
ท าให้คุณภาพน้ าของธรรมชาติเสียหายได้
น้ าเสียชุมชน หมายถึง น้ าเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจ าวันของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน และ
กิจกรรมที่เป็นอาชีพ ได้แก่ น้ าเสียที่เกิดจากการประกอบอาหารและช าระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายภายใน
ครัวเรือน และอาคารประเภทต่างๆ เป็นต้น ปริมาณน้ าเสียที่ปล่อยทิ้งจากบ้านเรือน อาคาร จะมี
ค่าประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณน้ าใช้ หรืออาจประเมินได้จากจ านวนประชากร หรือพื้นที่ใช้สอยของ
อาคารแต่ละประเภท
ลักษณะน้ าเสีย ที่เกิดจากบ้านพักอาศัยจะประกอบไปด้วยน้ าเสียจากกิจกรรมต่างๆ ใน
ชีวิตประจ าวัน ซึ่งมีองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ สารอินทรีย์ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ซึ่งสามารถ
ย่อยสลายได้ โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ท าให้ระดับออกซิเจนละลายน้ า ลดลงเกิดสภาพเน่าเหม็นได้
ปริมาณของสารอินทรีย์ในน้ า นิยมวัดด้วยค่าบีโอดี (BOD) เมื่อค่าบีโอดีในน้ าสูง แสดงว่ามีสารอินทรีย์
ปะปนอยู่มาก และสภาพเน่าเหม็นจะเกิดขึ้นได้ง่าย สารอนินทรีย์ ได้แก่ แร่ธาตุต่างๆ ที่อาจไม่ท าให้เกิดน้ า
เน่าเหม็น แต่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่ คลอไรด์และซัลเฟอร์ เป็นต้น โลหะหนักและสารพิษ
อาจอยู่ในรูปของสารอินทรีย์หรืออนินทรีย์และสามารถสะสมอยู่ในวงจรอาหาร เกิดเป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิต เช่น ปรอท โครเมียม และทองแดง ปกติจะอยู่ในน้ าเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม และสารเคมีที่
ใช้ในการก าจัดศัตรูพืชที่ปนมากับน้ าทิ้งจากการเกษตร ส าหรับในเขตชุมชนอาจมีสารมลพิษนี้มาจาก
อุตสาหกรรมในครัวเรือนบางประเภท เช่น ร้านชุบโลหะ อู่ซ่อมรถ และน้ าเสียจากโรงพยาบาล เป็นต้น
น้ ามันและสารลอยน้ าต่างๆ เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสงและกีดขวางการกระจายของออกซิเจนจาก
อากาศลงสู่น้ า นอกจากนั้นยังท าให้เกิดสภาพไม่น่าดู ของแข็ง เมื่อจมตัวสู่ก้นล าน้ า ท าให้เกิดสภาพไร้
ออกซิเจนที่ท้องน้ า ท าให้แหล่งน้ าตื้นเขิน มีความขุ่นสูง มีผลกระทบต่อการด ารงชีพของสัตว์น้ า สาร
ก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก ได้แก่ ผงซักฟอก สบู่ ฟองจะกีดกันการกระจายของออกซิเจนในอากาศสู่น้ า
และอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ า น้ าเสียจากโรงฟอกหนัง โรงฆ่าสัตว์ หรือ โรงงานอาหารกระป๋อง
จะมีจุลินทรีย์เป็นจ านวนมาก จุลินทรีย์เหล่านี้ใช้ออกซิเจนในการด ารงชีวิต สามารถลดระดับของ
ออกซิเจนละลายน้ าท าให้เกิดสภาพเน่าเหม็น นอกจากนี้จุลินทรีย์บางชนิดอาจเป็นเชื้อโรคที่เป็นอันตราย
ต่อประชาชน เช่น จุลินทรีย์ในน้ าเสียจากโรงพยาบาล ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสเมื่อมีปริมาณสูงจะท าให้
เกิดการเจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วของสาหร่าย (Algae Bloom) ซึ่งเป็นสาเหตุส าคัญท าให้
ระดับออกซิเจนในน้ าลดลงต่ ามากในช่วงกลางคืน อีกทั้งยังท าให้เกิดวัชพืชน้ า ซึ่งเป็นปัญหาแก่การสัญจร
ทางน้ า และกลิ่นซึ่งเกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ ซึ่งเกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์แบบไร้
ออกซิเจน หรือกลิ่นอื่นๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ