Page 34 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              11



                  บางครั้งเรียกว่า การหาต าแหน่งแบบ Differential GPS : DGPS วิธีนี้สามารถใช้ขจัดค่าคลาดเคลื่อนออกไปได้
                  หลายตัว ใช้กันอย่างมากในงานที่ต้องการค่าความถูกต้องสูง ประมาณ 0.5-5 เมตร เช่น งานส ารวจและท าแผนที่


                                   ระบบการก้าหนดต้าแหน่งบนโลกด้วยดาวเทียม (Global Positioning System: GPS) ที่
                  กล่าวมาข้างต้น มีส่วนเกี่ยวข้องกับการด้าเนินการปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อ

                  การพัฒนาที่ดิน ในส่วนของการเก็บค่าพิกัดแหล่งน ้าทั ง 3 แหล่ง คือ แหล่งน ้าในไร่นานอกเขตชลประทาน

                  แหล่งน ้าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า และ แหล่งน ้าชุมชน ค่าพิกัดที่รวบรวมได้จากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส
                  แบบพกพาหรือแบบมือถือ (Handheld receiver)


                             2.2.3 ระบบการส้ารวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing : RS)

                                   ระบบการส้ารวจข้อมูลระยะไกล เป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแขนงหนึ่ง ที่ใช้ในการบ่ง
                  บอก จ้าแนก หรือ วิเคราะห์คุณลักษณะของวัตถุต่างๆ โดยไม่ได้สัมผัสโดยตรงกับวัตถุนั นๆ โดยอาศัยคุณสมบัติ

                  ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อในการให้ได้มาของข้อมูลมี 3 ลักษณะ คือ คลื่นรังสี (Spectral) รูปทรงสัณฐาน

                  ของวัตถุบนพื นผิวโลก (Spatial) และ การเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา (Temporal) ซึ่งลักษณะของการสะท้อน
                  หรือการแผ่พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุแต่ละชนิดจะมีลักษณะการสะท้อนแสงหรือการแผ่รังสีที่เฉพาะตัว

                  และแตกต่างกันไป ถ้าวัตถุหรือสภาพแวดล้อมเป็นคนละประเภทกัน การส้ารวจจากระยะไกลจึงเป็นเทคโนโลยี
                  ที่ใช้ในการจ้าแนก และเข้าใจวัตถุ หรือสภาพแวดล้อมต่างๆ จากลักษณะเฉพาะตัวในการสะท้อนแสงหรือแผ่

                  รังสี ข้อมูลที่ส้ารวจจากระยะไกลนั นจะผ่านกระบวนการวิเคราะห์แบบอัตโนมัติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์และการ

                  แปลด้วยสายตา แล้วจึงน้ามาประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ (สุพรรณิการ์  เกตุศิริ  2557)

                                   2.2.3.1 กระบวนการและองค์ประกอบของระบบการส้ารวจระยะไกล (Processes and

                  elements of remote sensing) ได้แก่

                                         (1) การได้มาซึ่งข้อมูล (Data acquisition) โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งก้าเนิด

                  พลังงานจากดวงอาทิตย์ เคลื่อนที่ผ่านชั นบรรยากาศ เกิดปฏิสัมพันธ์ของพลังงานกับรูปลักษณ์ของพื นผิวโลก
                  และเดินทางเข้าสู่เครื่องรับรู้ที่ติดตั งไว้ในตัวยานอวกาศ เครื่องบิน หรือดาวเทียม ถูกบันทึก และผลิตข้อมูล

                  ออกมาในรูปแบบภาพ (Pictorial หรือ Photograph) และ/หรือ รูปแบบเชิงเลข (Digital)

                                         (2) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis) ได้แก่ การตีความข้อมูลด้วยสายตา

                  (visual interpretation) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเลข (Digital analysis) โดยใช้ข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องน้ามาใช้
                  ประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล จึงได้ผลผลิตของการตีความในรูปแบบแผนที่ ข้อมูลเชิงเลข ตาราง ค้าอธิบาย

                  หรือแผนภูมิ เพื่อน้าไปใช้ประโยชน์งานด้านต่างๆ ต่อไป

                                         (3) แหล่งพลังงานและหลักการแผ่รังสี (Energy sources and radiation

                  principle) ได้แก่ ความยาวคลื่น และ การแผ่รังสีของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า
                                            - ความยาวคลื่นของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นพลังงานต่อเนื่องที่มีค่าความยาวของ

                  ช่วงคลื่นหลายเมตรถึงเศษส่วนของพันล้านเมตร (Nanometer : 10  เมตร) ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งก้าเนิด
                                                                            -9
                  พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้าทางธรรมชาติที่ส้าคัญที่สุด

                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39