Page 32 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              9



                                              - ผู้ใช้งานสารสนเทศซึ่งเป็นผลลัพธ์จากระบบ End-User (Management,
                                                Operation staff)


                                   2.2.1.2 ลักษณะของข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                                          ลักษณะของข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

                                          (1) ข้อมูลแสดงทิศทาง (Vector data) คือ ข้อมูลลายเส้น หรือจุด ที่จัดเก็บใน
                  ระบบ GIS รูปแบบของค่าพิกัดต้าแหน่งจุดและความสัมพันธ์เชิงเรขาคณิตระหว่างจุดต่างๆ ประกอบกันขึ นเป็นรูป

                  โดยเริ่มต้นจากจุด (Point) เส้น (Line) และรูปปิดหรือพื นที่ (Polygon or Area) ซึ่งมีการจัดการข้อมูลในรูปของ

                  ระบบชั นข้อมูล (Layers) สามารถแบ่งคุณลักษณะตามความสัมพันธ์เชิงต้าแหน่งอย่างง่าย ได้ดังนี

                                          - ข้อมูลจุด (Point Features) เช่น สถานที่ส้าคัญ เสาไฟฟ้า ต้าแหน่งบ้านเรือน เป็นต้น
                                          - ข้อมูลเส้น (Line Features) เช่น โครงข่ายถนน แม่น ้า แนวสายไฟฟ้า เป็นต้น

                                          - ข้อมูลพื นที่ (Polygon or Area Features) เช่น เขตการปกครอง ขอบเขตแปลงที่ดิน

                  พื นที่ป่าไม้ เกษตร พาณิชย์ ที่เรียกว่า Zoning เป็นต้น

                                          (2) ข้อมูลแสดงลักษณะเป็นกริด (Raster Data) คือ ข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นช่อง

                  ตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเท่าๆ กัน เรียกว่าจุดภาพ (Grid cell หรือ Pixel) เรียงต่อเนื่องกันในแนวราบและ
                  แนวดิ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ในแต่ละเซลล์สามารถเก็บค่าได้ 1 ค่า พิกัดภูมิศาสตร์จะถูกก้าหนดไว้ที่พิกเซล

                  แรก และขนาดของพิกเซลจะเป็นตัวก้าหนดพิกัดของพิกเซลอื่นๆ เอง ข้อมูลที่มีโครงสร้างเป็นช่องตาราง
                  สี่เหลี่ยม ความสามารถในการแสดงรายละเอียดของข้อมูลขึ นอยู่กับขนาด ของเซลล์ (Resolution) ณ จุดพิกัด

                  ที่ประกอบขึ นเป็นฐานข้อมูลแสดงต้าแหน่งชุดนั น ค่าที่เก็บในแต่ละเซลล์สามารถเป็นได้ทั งข้อมูลลักษณะ

                  สัมพันธ์หรือรหัสที่ใช้อ้างอิงถึงข้อมูลลักษณะสัมพันธ์ที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูล ต้าแหน่งของแต่ละเซลล์จะก้าหนด
                  โดยตัวเลขประจ้าสดมภ์ และแถวค่าที่ก้าหนดให้แต่ละเซลล์จะแสดงถึงค่าของคุณลักษณะที่เซลล์นั นเป็น

                  ตัวแทน ได้แก่ ภาพถ่ายดาวเทียม (Satellite Imagery) ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข (Digital orthophoto) และ

                  แบบจ้าลองระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model -DEM) เป็นต้น (เอกพล ฉิ มพงษ์  2553)

                                   2.2.1.3 กระบวนการท้างานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                                          ระบบสารสนเทศมีกระบวนการท้างาน 5 กระบวนการ ดังต่อไปนี

                                          (1) การน้าเข้าข้อมูล (Input) เป็นการแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ใช้งานได้
                                          (2) การปรับแต่งข้อมูล (Manipulation) เป็นข้อมูลที่มีมาตรฐานเดียวกัน

                                          (3) การจัดการข้อมูล (Management) เป็นการ จัดท้า ดัดแปลง เปลี่ยนแปลง
                  แก้ไข ประมวลผล และจัดเก็บข้อมูล ตามวัตถุประสงค์

                                          (4) การเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล (Query and Analysis) เพื่อให้ได้มาซึ่ง

                  ข้อมูลที่ต้องการ แสดงในรูปของข้อมูลเชิงพื นที่และข้อมูลคุณลักษณะที่มีความสัมพันธ์กัน
                                          (5) การน้าเสนอข้อมูล (Visualization) ในรูปของแผนที่ ตาราง หรือค้าบรรยาย

                  โดยผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ รูปกระดาษ (Hard Copy) และ ข้อมูลเชิงเลข (Digital)


                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37