Page 37 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              14



                                          (1) พื นที่ขนาดกว้างของแถบลองจิจูด เท่ากับ 6 องศา
                                          (2) โซนที่ 1 อยู่ระหว่างลองจิจูด (เมอริเดียน) ที่ 180-174 องศาตะวันตก

                                          (3) โซนที่ 60 อยู่ระหว่างลองจิจูด (เมอริเดียน) ที่ 174-180 องศาตะวันออก
                                          (4) ประเทศไทยอยู่ที่โซน 47 และ 48 อยู่ระหว่างลองจิจูด 98-106 องศาตะวันออก

                                          (5) จุดก้าเนิดระบบพิกัด UTM อยู่ที่จุดตัดของเมอริเดียนกลาง (CM : Center
                  Meridian) กับเส้นศูนย์สูตร (EQ : Equator) โดยก้าหนดให้ N = 0 เมตร และ E = 500,000 เมตร

                                          (6) ก้าหนดตัวคูณมาตราส่วน (Scale Factor) ณ ต้าแหน่ง CM = 0.9996 โดย
                  จะมีค่าเพิ่มมากขึ นเมื่อห่างจาก เมอริเดียนกลาง (CM : Center Meridian)

                  2.4 พื นหลักฐานอ้างอิง (reference datum)


                             พื นหลักฐานอ้างอิง (reference datum) เป็นระบบอ้างอิงในการหาต้าแหน่ง (reference
                  system) และโครงข่ายทางยีออเดซี (geodetic network) ซึ่งประกอบด้วยหมุดหลักฐานที่รังวัดเชื่อมโยงกัน

                  เป็นโครงข่ายและมีค่าพิกัดบนระบบอ้างอิง โดยพื นหลักฐานอ้างอิงมี 2 ชนิด คือพื นหลักฐานทางราบและพื น

                  หลักฐานทางดิ่ง

                             2.4.1 พื นหลักฐานทางราบ

                                   ประเทศไทยมีหลายพื นหลักฐาน ส่วนใหญ่ใช้พื นหลักฐานอินเดียน พ.ศ.2518 และพื นหลักฐาน

                  สากล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี

                                   2.4.1.1 พื นหลักฐาน Indian1975 ปี พ.ศ.2518 องค์การแผนที่กระทรวงกลาโหม

                  สหรัฐอเมริกา (Defense Mapping Agency Hydrographic/Topographic Center : DMAHTC) ได้ท้าการ
                  ปรับแก้และย้ายศูนย์ก้าเนิดของพื นหลักฐานจากเขากะเลียนเปอร์ ประเทศอินเดีย มาเป็นที่เขาสะแกกรัง

                  จ.อุทัยธานี การปรับแก้ครั งนี ใช้เทคนิคการรังวัดจากดาวเทียมดอปเปลอร์จ้านวน 9 สถานี ซึ่งต้าแหน่งสัมพัทธ์
                  ที่ได้จากการรังวัดดาวเทียมดอปเปลอร์ มีความถูกต้องสูงกว่าที่ได้จากงานโครงข่ายสามเหลี่ยม เป็นจุดควบคุม

                  โครงข่ายสามเหลี่ยมซึ่งประกอบด้วย จ้านวนหมุดสามเหลี่ยมทั งสิ น 426 สถานี เรียกผลลัพธ์จากการปรับแก้

                  โครงข่ายสามเหลี่ยมในครั งนี ว่า พื นหลักฐาน Indian1975 และที่ส้าคัญพื นหลักฐานนี ใช้เป็นพื นหลักฐานอ้างอิง
                  ทางราบในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 ล้าดับชุด L7017


                                   2.4.1.2 พื นหลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) พื นหลักฐานนี อาจ
                  เรียกได้ว่าเป็น ระบบพื นหลักฐานสากล เนื่องจากเป็นพื นหลักฐานที่อ้างอิงทั งโลกซึ่งพัฒนาโดยกระทรวงกลาโหม

                  ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยข้อมูลทางกราวิตี  (Gravity Data) ครอบคลุมทั่วโลกประกอบกับข้อมูล

                  จากการรังวัดดาวเทียมดอปเปลอร์ที่มีสถานีครอบคลุมทั่วโลก ประโยชน์ของพื นหลักฐานนี  เพื่อใช้ในการพัฒนา
                  กิจการด้านอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบการก้าหนดต้าแหน่งด้วยดาวเทียม พื นหลักฐานนี ใช้จุดศูนย์กลาง

                  ของโลกเป็นจุดศูนย์ก้าเนิดคล้ายกับระบบ GRS (Geocentric Reference System) และพื นหลักฐาน WGS84
                  นี ยังมีลักษณะทางกายภาพเหมือนกับ ITRS (International Terrestrial Reference System) และที่ส้าคัญ

                  จุดศูนย์กลางของโลก และ จุดศูนย์ก้าเนิดของพื นหลักฐาน ยังเป็นจุดศูนย์กลางของวงโคจรดาวเทียม GPS อีกด้วย



                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42