Page 36 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              13



                  2.3 ระบบพิกัด (Coordinate systems)

                                   ระบบพิกัด (Coordinate systems) คือ ระบบที่สร้างขึ นส้าหรับไว้ใช้อ้างอิงในการก้าหนด

                  ต้าแหน่งหรือบอกต้าแหน่งบนพื นโลกจากแผนที่ มีลักษณะเป็นตารางโครงข่ายที่เกิดจากตัดกันของเส้นตรงสองชุด
                  ที่ถูกก้าหนดให้วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันออก-ตะวันตก ตามแนวของจุดศูนย์ก้าเนิด (Origin) ที่

                  ก้าหนดขึ น ค่าพิกัดที่ใช้อ้างอิงในการบอกต้าแหน่งต่างๆ จะใช้ค่าของหน่วยที่นับออกจากจุดศูนย์ก้าเนิดเป็น

                  ระยะเชิงมุม (Degree) หรือเป็นระยะทาง (Distance) ไปทางเหนือ-ใต้ และตะวันออก-ตะวันตก ตามต้าแหน่ง
                  ของต้าบลที่ต้องการหาค่าพิกัดที่ก้าหนดต้าแหน่งต่างๆ จะถูกเรียกอ้างอิงเป็นตัวเลขในแนวตั งและแนวนอนตาม

                  หน่วยวัดระยะ ใช้วัดส้าหรับระบบพิกัดที่ใช้อ้างอิงก้าหนดต้าแหน่งบนแผนที่ ที่นิยมใช้กับแผนที่ในปัจจุบัน มีอยู่
                  ด้วยกัน 2 ระบบ คือ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic coordinate systems) และ ระบบพิกัดกริด UTM

                  (UTM Grid coordinate systems)

                                   2.3.1. ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic coordinate systems)

                                          ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic coordinate systems) เป็นระบบพิกัดที่

                  ก้าหนดต้าแหน่งต่างๆ บนพื นโลก ด้วยวิธีการอ้างอิง การระบุต้าแหน่งเป็นค่าระยะเชิงมุมของละติจูด

                  (Latitude) และลองจิจูด (Longitude) ตามระยะเชิงมุมที่ห่างจากศูนย์ก้าเนิด (Origin)
                                          (1) ละติจูด (Latitude) ก้าหนดขึ นจากแนวระดับที่ตัดผ่านศูนย์กลางของโลกและ
                  ตั งฉากกับแกนหมุน เรียกแนวระนาบศูนย์ก้าเนิดนั นว่า เส้นระนาบศูนย์สูตร ซึ่งแบ่งโลกออกเป็นซีกโลกเหนือ

                  และซีกโลกใต้
                                          (2) ลองจิจูด (Longitude) ก้าหนดขึ นจากแนวระนาบทางตั งที่ผ่านแกนหมุนของ

                  โลกตรงบริเวณต้าแหน่งบนพื นโลกที่ผ่านหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ เมืองกรีนิช (Greenwich) ประเทศ
                  อังกฤษ เรียกศูนย์ก้าเนิดนี ว่า เส้นเมริเดียนแรก (Prime meridian) เป็นเส้นที่แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกตะวันตก

                  และซีกโลกตะวันออก

                                   2.3.2 ระบบพิกัดกริด UTM  (UTM Grid coordinate systems)


                                          ระบบพิกัดกริด UTM  (UTM Grid coordinate systems) เป็นระบบตารางกริดที่
                  ใช้ช่วยในการก้าหนดต้าแหน่งและใช้อ้างอิงในการบอกต้าแหน่ง ที่นิยมใช้กับแผนที่ในกิจการทหารของประเทศ

                  ต่างๆ เกือบทั่วโลกใน เพราะเป็นระบบตารางกริดที่มีขนาดรูปร่างเท่ากันทุกตารางและมีวิธีการก้าหนดบอกค่า
                  พิกัดที่ง่ายและถูกต้อง เป็นระบบกริดที่น้าเอาเส้นโครงแผนที่แบบ Universal Transverse Mercator

                  Projection ของ Gauss -Krueger มาใช้ดัดแปลงการถ่ายทอดรายละเอียดของพื นผิวโลกให้รูปทรงกระบอก
                  Mercator Projection อยู่ในต้าแหน่ง Mercator Projection (แกนของรูปทรงกระบอกจะทับกับแนวเส้นศูนย์

                  สูตร (Equator) และตั งฉากกับแนวแกนของขั วโลก) แผนที่ระบบพิกัดกริด ที่ใช้เส้นโครงแผนที่แบบ UTM เป็น

                  ระบบเส้นโครงชนิดหนึ่งที่ใช้ผิวรูปทรงกระบอกเป็นผิวแสดงเส้นเมริเดียน (หรือเส้นลองจิจูด) และเส้นละติจูด
                  ของโลก โดยใช้ทรงกระบอกตัดโลกระหว่างละติจูด 84 องศาเหนือ และ 80 องศาใต้ในลักษณะแกนรูป

                  ทรงกระบอกแล้วท้ามุมกับแกนโลก 90 องศารอบโลก ซึ่งมีลักษณะ ดังนี




                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41