Page 38 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              15



                  พื นหลักฐานนี ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นพื น หลักฐานที่มีความความละเอียดถูกต้อง และความน่าเชื่อถือสูง
                  (ความคลาเคลื่อนของต้าแหน่งจุด ศูนย์กลางของโลกประมาณ ±1 เมตร) และประเทศไทย ได้จัดท้าแผนที่ชุด

                  ใหม่โดยใช้พื นหลักฐานนี  อ้างอิงทางราบ คือ แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ล้าดับชุด L7018

                             2.4.2 พื นหลักฐานทางดิ่ง


                                   พื นหลักฐานทางดิ่ง คือพื นหลักฐานที่ใช้ในการอ้างอิงระดับสูง (Elevation) ซึ่งในการ
                  ส้ารวจ และการท้าแผนที่ชั นสูงจะเป็นค่า Orthometric Height ซึ่งในทางทฤษฎีอ้างอิงกับพื นผิวศักย์สมดุล

                  (Equipotential Surface) หรือพื นผิวระดับ (Level Surface) ที่เรียกว่า ยีออยด์ (Geoid) โดยที่ยีออยด์ถือว่า

                  เป็นสัณฐานของโลกอย่างแท้จริง อันเป็นผลมาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ อาทิ สนามความถ่วง พิภพ เป็น
                  ส้าคัญ อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติ เนื่องจากการหายีออยด์ให้มีความละเอียดถูกต้องสูง กระท้าได้ยากและ

                  สลับซับซ้อน ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ระหว่างปี 2453 – 2458 ได้มีการรังวัด ระดับน ้าทะเล เป็นเวลา 5 ปี
                  (ระยะเวลาเหมาะสมควรเป็น 19 ปี) ณ สถานีวัดน ้า กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ต.เกาะหลัก อ.เมือง

                  จ.ประจวบคีรีขันธ์ โดย Mr. S W Masterman รังวัดด้วยเครื่อง The Lord Kevin Vertical Type บันทึกการ
                  ขึ นลงของระดับทะเลแล้วน้ามาเฉลี่ยเพื่อหาค่าระดับทะเลปานกลาง จากนั นจึงได้โยงค่า ระดับทะเลปานกลาง

                  (MSL) มายังบริเวณโขดหินชายฝั่ง แล้วก้าหนดให้เป็น หมุดหลักอ้างอิงทางดิ่งหมุดแรกหรือเป็นจุดศูนย์ก้าเนิด

                  มีชื่อว่า“BMA.” ได้ค่า 1.4477 เมตร และเรียก ระดับทะเลปานกลาง (MSL) นี ว่า “ พื นหลักฐานทางดิ่งเกาะหลัก
                  2458 ” จึงนิยมใช้ระดับทะเลปานกลาง (Mean Sea Level : MSL) เป็นพื นผิวระดับที่มีค่าระดับเป็นศูนย์ เพื่อใช้

                  ในการอ้างอิงในการหาค่า ระดับสูง เป็นพื นหลักฐานทางดิ่ง ของประเทศไทย มาจนกระทั่งทุกวันนี  (ราชวัลย์ กันภัย

                  : http://www.lddservice.org/services/PDF/Datum_referance.pdf)

                             การด้าเนินการปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการพัฒนาที่ดินครั งนี
                  ใช้พื นหลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) ซึ่งเป็นพื นหลักฐานสากลที่ใช้อ้างอิงทั่วโลก

                  2.5 ข้อก้าหนดของมาตรฐานโครงสร้าง เนื อหา คุณลักษณะ คุณภาพ ของชุดข้อมูลภูมิศาสตร์พื นฐาน

                      (Fundamental Geographic Data Set : FGDS)

                             คณะกรรมการภูมิสารสนเทศแห่งชาติ (กภช.) เป็นองค์กรที่มีหน้าที่ในการก้าหนดนโยบายในการ

                  บริหารจัดการระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางของประเทศ ก้าหนดมาตรฐานกลางด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศ

                  แนวทางการบูรณาการและจัดท้าข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางของประเทศ รวมทั งก้าหนดแนวทางการปฏิบัติงาน
                  ด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐเพื่อให้การบริหารจัดการระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศในทุกมิติที่

                  เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้มอบหมายให้ส้านักเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

                  โดยศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรมหาวิทยาลัยเป็นที่ปรึกษา เพื่อด้าเนินงาน “โครงการจัดท้าข้อก้าหนด
                  ของมาตรฐานโครงสร้าง เนื อหา คุณลักษณะ คุณภาพ ของชุดข้อมูลภูมิศาสตร์พื นฐาน (FGDS) ตามมาตราส่วน

                  หลักของประเทศ” ซึ่งคณะกรรมการภูมิสารสนเทศแห่งชาติได้ก้าหนดไว้จ้านวน 13 ชั นข้อมูล ได้แก่

                             (1) มาตรฐานข้อก้าหนดชั นข้อมูลแปลงที่ดิน

                             (2) มาตรฐานข้อก้าหนดชั นข้อมูลเขตการปกครอง


                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43