Page 29 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              6



                  ชะล้างพังทลายของดิน ร้อยละ 30 ซึ่งจะเร่งรัดการก่อสร้างขึ นตามราษฎรร้องขอหรือปรับปรุงซ่อมแซมของเดิม
                  ที่ราษฎรได้ก่อสร้างไว้แล้วเพื่อให้คงทนถาวร ซึ่งในการพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า (แหล่งน ้าขนาดเล็ก)

                  จะแบ่งงานออกเป็น 2 งาน คือ

                                   2.1.2.1 งานพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า ซึ่งแหล่งน ้าเป็นส่วนหนึ่งที่มี

                  ความส้าคัญต่อระบบอนุรักษ์ดินและน ้า โดยจะช่วยอนุรักษ์และเก็บเกี่ยวน ้าไว้ ไม่ให้ไหลบ่าไปกัดเซาะดินใน

                  พื นที่ตอนล่างให้เกิดความเสียหาย รวมทั งการกักเก็บน ้าไว้ใช้เพื่อการเกษตรกรรม

                                   2.1.2.2 งานพัฒนาแหล่งน ้านอกเขตอนุรักษ์ดินและน ้า เป็นการพัฒนาแหล่งน ้าตามค้าร้อง

                  ขององค์การบริหารราชการส่วนต้าบล (อบต.) หรือผู้น้าท้องถิ่นเสนอ เพื่อขอรับการสนับสนุนแหล่งน ้าให้แก่
                  เกษตรกรในพื นที่ให้มีแหล่งเก็บกักน ้าไว้ใช้เพื่อการเกษตรกรรม

                                   ลักษณะของงานพัฒนาแหล่งน ้าจะแบ่งลักษณะงานออกเป็น 2 ลักษณะ ดังต่อไปนี


                                         (1) งานพัฒนาแหล่งน ้าขนาดเล็ก เป็นการก่อสร้างแหล่งน ้าในบริเวณพื นที่
                  สาธารณะ ได้แก่ สระเก็บน ้า อ่างเก็บน ้า การขุดลอกหนองน ้า คลอง ล้าห้วย และฝายต้นน ้า เป็นต้น

                                         (2) งานปรับปรุงพื นที่และจัดท้าระบบส่งน ้าในไร่นา จะจ้าแนกออกเป็นคลองส่งน ้า

                  ในไร่นา และระบบท่อส่งน ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากแหล่งน ้า

                             2.1.3 โครงการพัฒนาแหล่งน ้าชุมชน

                                   การด้าเนินงานพัฒนาแหล่งน ้าชุมชน ได้ด้าเนินการตั งแต่ปีงบประมาณ 2555 เพื่อใช้เป็น

                  ต้นแบบของการบริหารจัดการน ้าท่าที่ดี  ซึ่งประกอบด้วย การบริหารจัดการด้านอุปสงค์ของการใช้น ้า
                  (Demand side management) และการบริหารจัดการด้านอุปทาน (Supply side management) ได้แก่

                  การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้าที่มีประสิทธิภาพ  สามารถป้องกันการชะล้างพังทลายของดินที่กระทบต่อ

                  สภาวะแวดล้อมในพื นที่การเกษตรและแหล่งเก็บกักน ้า  มีการก่อสร้างแหล่งเก็บกักน ้าให้สามารถน้าไปใช้ในเขต
                  พื นที่การเกษตรที่ก้าหนดขึ น โดยการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างเหมาะสม มีการจัดระบบการปลูกพืชได้โดย

                  ก้าหนดระยะเวลา ชนิด และพันธุ์พืชให้เหมาะสม  สอดคล้องกับศักยภาพของดินและสภาพภูมิอากาศ รวมถึง

                  การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรด้านการใช้น ้า ด้านการปรับปรุงบ้ารุงดิน โดยมีกิจกรรม
                  ฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร

                                   แหล่งน ้าชุมชนเป็นแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร มีขนาดประมาณแห่งละ 128,000-200,000

                  ลูกบาศก์เมตร ในระดับความลึกประมาณ 4 เมตร และครอบคลุมพื นที่รับประโยชน์ประมาณแห่งละ 20 ไร่ ซึ่งมี

                  หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกพื นที่ ดังนี
                                   (1) ที่ดินแปลงนั นต้องเป็นพื นที่สาธารณประโยชน์ใช้ร่วมกัน เช่น ที่สาธารณะ หนอง คลอง

                  บึงต่างๆ หรือพื นที่สาธารณะว่างเปล่าที่ไม่มีการใช้ประโยชน์ใดๆ และสามารถขุดเป็นสระเก็บน ้าชุมชนได้ หรือ
                  ที่ดินเอกชน ที่ยินยอมให้ประชาชนและเกษตรกรเข้าใช้ประโยชน์ในแหล่งน ้านั นร่วมกันได้ทุกกรณี

                                   (2) ต้องมีเนื อที่ส้าหรับด้าเนินการไม่น้อยกว่า 20-30 ไร่ หรือมีพื นที่เพื่อกักเก็บน ้าประมาณ

                  200,000 ลบ.ม. และมีศักยภาพในการขุดแหล่งน ้าเพื่อการท้าเกษตร

                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34