Page 35 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              12



                                            - การแผ่รังสีของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
                  ประกอบด้วยประกอบด้วยโฟตอน (Photo) หรือ ควอนตัม (Quantum) พลังงานของแต่ละควอนตัมจะเป็น

                  สัดส่วนโดยตรงกับความถี่ของคลื่น และ พลังงานเป็นสัดส่วนผกผันกับความยาวคลื่น

                                         (4) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพลังงานในชั นบรรยากาศ (Energy interaction in the
                  atmosphere) คลื่นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเดินทางผ่านชั นบรรยากาศ แล้วสะท้อนกลับสู่ชั นบรรยากาศก่อนที่

                  จะถูกตรวจหาโดยเครื่องรับสัญญาณ ชั นบรรยากาศของโลกท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของคลื่นพลังงานในด้าน
                  ทิศทาง ความเข้ม ตลอดจนความยาวและความถี่ของช่วงคลื่นเพราะในชั นบรรยากาศ ประกอบไปด้วย ฝุ่น

                  ละออง ไอน ้า และก๊าซต่างๆ ท้าให้เกิดปฏิกิริยากับคลื่นพลังงาน 3 กระบวนการ ได้แก่ การกระจัดกระจาย

                  (Scattering) การดูดกลืน (Absorption) และ การหักเห (Refraction) ท้าให้ปริมาณพลังงานตกกระทบ
                  บนผิวโลกน้อยลง

                                         (5) ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานกับรูปลักษณ์พื นผิวโลก (Energy interactions with
                  earth surface features) พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อผ่านชั นบรรยากาศมาตกกระทบพื นผิวโลก จะเกิด

                  ปฏิสัมพันธ์ 3 แบบ ได้แก่ การสะท้อนพลังงาน (Reflection) การดูดกลืนพลังงาน (Absorption) และ การ

                  ส่งผ่านพลังงาน (Transmission) ซึ่งสัดส่วนของการสะท้อนพลังงาน การดูดกลืนพลังงาน และ การส่งผ่าน
                  พลังงาน จะแตกต่างกันตามชนิดของวัตถุ ท้าให้สามารถแยกแยะชนิดของวัตถุที่อยู่ในภาพถ่ายได้ นอกจากนี

                  วัตถุชนิดเดียวกันสัดส่วนของการเกิดปฏิสัมพันธ์ทั งสามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นก็จะแตกต่างกันตามความยาวของ
                  ช่วงคลื่นที่ตกกระทบ ซึ่งวัตถุสองชนิดอาจไม่มีความแตกต่างกันในช่วงคลื่นหนึ่ง แต่สามารถแยกแยะจากกันได้

                  ในอีกช่วงคลื่นหนึ่ง

                                         (6) ความสะท้อนเชิงสเปกตรัมของพืชพรรณ ดิน และน ้า (Spectral reflectance of
                  vegetation soil and water) วัตถุที่ปกคลุมผิวโลกส่วนใหญ่จะเป็นประเภทพืชพรรณ ดิน และน ้า ซึ่งมีการ

                  สะท้อนพลังงานที่ความยาวช่วงคลื่นที่แตกต่างกัน ท้าให้สามารถแยกประเภทของวัตถุชนิดต่างๆ ได้ โดยวัตถุทั ง
                  สามชนิดนี  มีรูปแบบการตอบสนองต่อช่วงคลื่นต่างๆ เฉพาะตัว เรียกว่า ลักษณะบ่งชี เชิงสเปกตรัม (Spectral

                  signature) โดยที่ช่วงคลื่นเดียวกัน วัตถุต่างชนิดกันจะให้ค่าการสะท้อนพลังงานที่แตกต่างกัน ขณะที่ความยาว

                  ช่วงคลื่นต่างกัน วัตถุชนิดเดียวกันจะมีความสะท้อนเชิงสเปกตรัมต่างกัน ความยาวช่วงคลื่นต่างกัน วัตถุต่างกัน
                  ก็จะมีความสะท้อนเชิงสเปกตรัมต่างกัน ท้าให้สามารถแยกชนิดของวัตถุได้


                             ระบบการส้ารวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing : RS) มีส่วนเกี่ยวข้องกับการด้าเนินการ
                  ปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูล

                  (Data analysis)  โดยการตีความข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตา เพื่อวิเคราะห์ตรวจสอบความถูกต้องเชิงต้าแหน่ง
                  ที่ตั งของแหล่งน ้า











                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40