Page 28 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              5



                                                            บทที่ 2

                                                     วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง


                  2.1 โครงการพัฒนาแหล่งน ้าของกรมพัฒนาที่ดิน

                             กรมพัฒนาที่ดิน มีภารกิจในการด้าเนินงานด้านการพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า

                  และเป็นการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือนร้อนให้แก่ราษฎรในพื นที่ที่ขาดแคลนน ้าใช้ส้าหรับการเพาะปลูก
                  หรือใช้ส้าหรับเป็นน ้ากินน ้าใช้ในฤดูแล้ง โดยได้ด้าเนินโครงการพัฒนาแหล่งน ้า ทั งหมดจ้านวน 3 โครงการ ดังนี


                             2.1.1 โครงการก่อสร้างแหล่งน ้าในไร่นานอกเขตชลประทาน

                                   การก่อสร้างแหล่งน ้าในไร่นานอกเขตชลประทาน ด้าเนินการตั งแต่ปีงบประมาณ 2548

                  บริเวณพื นที่นอกเขตชลประทาน เนื่องจากน ้าเป็นปัจจัยส้าคัญในระบบการผลิตทางการเกษตรเป็นสิ่งที่มีความ
                  จ้าเป็นในการอุปโภคและบริโภค และยังส่งผลต่อความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยท้าการขุดสระกักเก็บ

                  น ้าประจ้าไร่นา ขนาด 1,260 ลูกบาศก์เมตร ในพื นที่ของเกษตรกรซึ่งเป็นพื นที่ท้าการเกษตรและมีเอกสารสิทธิ์
                  โดยเกษตรกรจะมีส่วนร่วมในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการด้าเนินการขุดสระเก็บน ้า จ้านวน 2,500 บาท/บ่อ

                  รูปแบบของสระกักเก็บน ้า มีอยู่ 2 รูปแบบ คือ รูปตัว I และรูปตัว L ซึ่งเกษตรกรสามารถเลือกให้เหมาะสมกับ
                  สภาพพื นที่ของเกษตรกร วัตถุประสงค์หลักของการก่อสร้างแหล่งน ้าในไร่นานอกเขตชลประทาน เพื่อเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพการกักเก็บน ้าไว้ใช้ในพื นที่ท้าการเกษตรนอกเขตชลประทาน และในพื นที่ที่ระบบส่งน ้าเข้าไปไม่

                  ถึง บรรเทาปัญหาภัยแล้ง เพิ่มผลผลิตและรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่งในแต่ละปีเกษตรกรมีความต้องการสระน ้า
                  ในไร่นานอกเขตชลประทานเป็นจ้านวนมาก


                                   กรมพัฒนาที่ดินไม่สามารถด้าเนินการก่อสร้างแหล่งน ้าในไร่นานอกเขตชลประทานได้ตาม
                  ความต้องการของเกษตรทุกราย เนื่องจากได้รับประมาณที่จ้ากัด กรมพัฒนาที่ดินจึงด้าเนินการขุดสระน ้าได้

                  ตามเป้าหมายที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ซึ่งจะด้าเนินการคัดเลือกเกษตรกร คัดเลือกพื นที่เป้าหมาย เก็บเงิน

                  สมทบ ขุดสระน ้า ก้าหนดรูปแบบของสระน ้า และการมีส่วนร่วมของเกษตรกร (รายละเอียดดังภาคผนวก-ก)

                             2.1.2 โครงการงานพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า (แหล่งน ้าขนาดเล็ก)

                                   การด้าเนินงานพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า (แหล่งน ้าขนาดเล็ก) ได้

                  ด้าเนินการตั งแต่ปีงบประมาณ 2524 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นการด้าเนินงานในพื นที่สาธารณตามการขอรับการ
                  สนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนต้าบล (อบต.) หรือพื นที่ของเกษตรกรที่มีเอกสารสิทธิ์ ในเขตพัฒนาที่ดินเพื่อ

                  การอนุรักษ์ดินและน ้า ในพื นที่ที่ห่างไกลและทุรกันดาร เพื่อเป็นการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือนร้อน

                  ให้แก่ราษฎรที่ขาดแคลนน ้าใช้ส้าหรับการเพาะปลูก การอุปโภค บริโภค ในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจะท้าการคัดเลือกพื นที่
                  ที่จะเป็นไปตามลักษณะของแหล่งน ้าและสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสม เพื่อประโยชน์ของราษฎรอย่างแท้จริง

                  ได้ยึดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณด้วย 6 ตัวแปร คือ พื นที่นอกเขตชลประทาน ร้อยละ 10
                  ประชากร ร้อยละ 30 พื นที่ภัยแล้ง ร้อยละ 10 พื นที่อุทกภัย ร้อยละ 10 ความยากจน ร้อยละ 10 และ พื นที่การ





                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33