Page 37 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 37
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28
ตารางที่ 8 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
กิจกรรม ค่าใช้จ่ายผันแปรต่อไร่ (บาท)
ก่อนด าเนินการ หลังด าเนินการ
1. ค่าแรง
1.1 ตัดแต่งกิ่ง 250 250
1.2 ใส่ปุ๋ยเคมี 150 150
1.3 ฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช น้ าหมักชีวภาพ และ 100 100
ฮอร์โมน
1.4 ตัดแต่งช่อ - 450
1.5 รดน้ า 1,368.75 1,368.75
1.6 ผลิตปุ๋ยหมัก 150
1.7 ใส่ปุ๋ยหมัก 75
1.8 ใส่ปูนโดโลไมท์ 75
2. เก็บเกี่ยว 1,200 1,200
3. วัสดุการเกษตร
3.1 มูลวัว - 500
3.2 ปุ๋ยเคมี
สูตร 15-15-15 2,100 805
สูตร 21-0-0 - 60
3.3 สารก าจัดศัตรูพืช 369 228
3.4 ฮอร์โมน - 1,570
3.5 น้ าหมักชีวภาพ - 26
3.6 ปูนโดโลไมท์ 595
3.7 ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง 240 300
รวมค่าใช้จ่ายต่อไร่ (บาทต่อไร่) 5,777.75 7,902.75
ผลผลิตเกรด AA ต่อไร่ (กิโลกรัม) 100 400
ผลผลิตเกรด A ต่อไร่ (กิโลกรัม) 250 300
ผลผลิตคละเกรด ต่อไร่ (กิโลกรัม) 600 200
ราคาผลผลิตล าไย เกรด AA ต่อกิโลกรัม (บาท) 26 30
ราคาผลผลิตล าไย เกรด A ต่อกิโลกรัม (บาท) 20 25
ราคาผลผลิตล าไยคละเกรด ต่อกิโลกรัม (บาท) 10 10
มูลค่าผลผลิตต่อไร่ (บาท) 13,600 21,500
ค่าใช้จ่ายในการผลิตต่อกิโลกรัม (บาท) 6.08 8.78
ผลตอบแทนเหนือค่าใช้จ่ายผันแปร (บาทต่อไร่) 7,822.25 13,597.25
ผลประโยชน์ต่อการลงทุน (B:C ratio) 1.35 1.72
หมายเหตุ ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 ราคา 17.5 บาทต่อกิโลกรัม
ปุ๋ยเคมีสูตร 21-0-0 ราคา 10 บาทต่อกิโลกรัม