Page 42 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        33





                   ร้อยละ 90  มีอัตราการติดผลเพิ่มขึ้น การหลุดร่วงลดลง ในฐานเรียนรู้การจัดการผลผลิต การตัดแต่ง
                   ช่อดอกเพื่อควบคุมให้ผลผลิตมีคุณภาพ ลูกโตสม่ าเสมอ ผิวสวย มีการคัดเกรดก่อนขาย ผลผลิตล าไยของ
                   เกษตรกรเป็นเกรด AA  เพิ่มมากขึ้น เป็น 3  เท่าของผลผลิตก่อนด าเนินการ ในฐานเรียนรู้การเชื่อมโยง
                   ด้านการตลาดมีการรวมกลุ่มกันซื้อปัจจัยการผลิต มีการรวมกลุ่มกันขายเพื่อเพิ่มอ านาจต่อรองทางการตลาด

                   เกษตรกรสามารถประเมินผลผลิตของตนเอง มีการคาดการณ์ผลผลิตของกลุ่มล่วงหน้า มีการซื้อขายผ่าน
                   ตลาดประชารัฐ Modern Trade สหกรณ์การเกษตรอ าเภอเชียงกลาง และล้งรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร
                   ในพื้นที่ ท าให้เกษตรกรสามารถจัดหาตลาดรองรับผลผลิตล่วงหน้า ไม่มีปัญหาเรื่องผลผลิตล าไยล้นตลาด

                   5.2  ข้อเสนอแนะ

                            เมื่อพิจารณาในภาพรวมของกระบวนการผลิต จะเห็นว่าการยอมรับการส่งเสริมและผลิตล าไย

                   ตามหลักวิชาการของนักวิชาการจากหน่วยงานภาครัฐ สามารถยกระดับคุณภาพผลผลิตล าไยได้ และ
                   สามารถขายได้ในราคาที่สูงขึ้น ถึงแม้ว่าการจัดการจะท าให้เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น แต่เกษตรกร
                   ก็ยังได้รับผลตอบแทนสุทธิต่อไร่เพิ่มมากขึ้น สถานีพัฒนาที่ดินควรประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และถ่ายทอด
                   วิธีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมของกรมพัฒนาที่ดินในการปรับปรุงบ ารุงดิน การวิเคราะห์ดินและใช้ปุ๋ย

                   ตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้ปูนโดโลไมท์ปรับสภาพดินกรดเพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของาตุอาหารในดิน
                   การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด. 1  ในการย่นระยะเวลาในการผลิตปุ๋ยหมักจากใบล าไยเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
                   ในดิน เพิ่มความสามารถในการดูดซับน้ าและอาหารในดิน การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด. 2  ผลิตน้ าหมัก
                   ชีวภาพสูตรต่างๆ เพื่อใช้ให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการเจริญเติบโตและความต้องการธาตุอาหารของ

                   ล าไย การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.7 ในการผลิตสารไล่แมลงและใช้ร่วมกับสารชีวภัณฑ์ เพื่อก าจัดศัตรูพืช
                   ตลอดจนการบูรณาการการส่งเสริมร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นระบบ
                   และท าให้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต เกษตรกรผลิตล าไยที่มีคุณภาพได้มากขึ้น
                   เกษตรกรมีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดีขึ้น อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน


                   5.3  ประโยชน์ที่ได้รับ

                          5.3.1  เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถน าองค์ความรู้กลับไปประยุกต์ใช้ในแปลงของ
                   ตนเอง เช่น การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้ปูนโดโลไมท์ปรับสภาพดินกรดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
                   การใช้ปุ๋ย การใช้ปุ๋ยหมักเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน การใช้น้ าหมักชีวภาพสูตรต่างๆ ปรับปรุงบ ารุงดิน

                   ตามช่วงระยะการเจริญเติบโตของล าไย การผลิตและการใช้สารไล่แมลงจากสมุนไพรเพื่อใช้ก าจัดศัตรูพืช
                   ล าไย ซึ่งจะท าให้เกษตรกรได้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดีขึ้น
                          5.3.2 การรวมกลุ่มของสมาชิกเกษตรกรแปลงใหญ่และการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดการดิน
                   ผ่านศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ท าให้เกษตรกรรู้จักและยอมรับเทคโนโลยีของ
                   กรมพัฒนาที่ดิน และขยายผลออกไปสู่ชุมชนมากขึ้น
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47