Page 34 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        25





                   เพียงพอต่อความต้องการของพืช ประกอบกับเกษตรกรมีการใช้น้ าหมักชีวภาพในการปรับปรุงบ ารุงดินอยู่
                   เป็นประจ า
                          ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available  K) จากผลวิเคราะห์ดิน ในปี 2558
                   ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินมี 36 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับปานกลาง ในปี

                   2559 ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินเพิ่มขึ้นเป็น 66 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งถือว่ามีปริมาณ
                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินในระดับสูง เนื่องจากเกษตรกรใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินท าให้มีปริมาณ
                   ธาตุอาหารเพียงพอต่อความต้องการของพืช ประกอบกับเกษตรกรมีการใช้น้ าหมักชีวภาพในการปรับปรุง
                   บ ารุงดินอยู่เป็นประจ า


                   ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ดินก่อนด าเนินการปี พ.ศ. 2558 และหลังด าเนินการ ปี พ.ศ. 2559
                                                                                  -1                 -1
                       ผลการวิเคราะห์ดิน        pH       OM (%)      Avail.P (mg kg )   Avail.K (mg kg )
                    ก่อนด าเนินการ ปี 2558     4.3         2.2              1                  37
                    หลังด าเนินการ ปี 2559     5.8         2.7             13                  66


                       4.3.2 ผลผลิตล าไย
                          จากการด าเนินงานจัดการดินในแปลงปลูกล าไยโดยใช้ผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน ได้แก่
                   การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับสภาพดินกรด การใช้ปุ๋ยหมัก น้ าหมักชีวภาพ
                   และสารไล่แมลงจากสมุนไพร ท าให้ผลผลิตล าไยมีคุณภาพมากขึ้น ผลผลิตล าไยของเกษตรกรมีเกรด AA
                   เกรด A  เพิ่มขึ้น จาก 100  และ 250  กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 400  และ 300  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ

                   เมื่อเกษตรกรสามารถผลิตล าไยคุณภาพได้เพิ่มขึ้น (ตารางที่ 4)

                   ตารางที่ 4 ผลผลิตของล าไย

                                                                  ผลผลิตล าไย (กิโลกรัมต่อไร่)
                                  ปี
                                                        เกรด AA            เกรด A            คละเกรด

                         ก่อนด าเนินการ ปี 2558           100               250                600
                         หลังด าเนินการ ปี 2559           400               300                200

                         เมื่อมีการทดสอบทางสถิติ T-test ของผลผลิตล าไยเกรด AA ระหว่างปี 2558 (ก่อนด าเนินการ)

                   กับ ปี 2559  (หลังด าเนินการ) พบว่า ผลผลิตล าไยเกรด AA  หลังด าเนินการ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง
                   (ตารางที่ 5)  เนื่องจากเกษตรกรมีการจัดการที่ดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งช่อผลเพื่อ
                   ควบคุมปริมาณผลต่อช่อ และใช้น้ าหมักชีวภาพร่วมกับแคลเซียมโบรอนในการเพิ่มคุณภาพของผลผลิต
                   ล าไย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39