Page 35 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
26
ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบทางสถิติ T-test ของผลผลิตล าไยเกรด AA ระหว่างปี 2558 (ก่อนด าเนินการ)
และ ปี 2559 (หลังด าเนินการ)
T-test ผลผลิตล าไยเกรด AA (กิโลกรัมต่อไร่)
ปี
ก่อนด าเนินการ ปี 2558 หลังด าเนินการ ปี 2559
ก่อนด าเนินการ ปี 2558 - **
หลังด าเนินการ ปี 2559 ** -
หมายเหตุ ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
* หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)
** หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง (p<0.01)
เมื่อมีการทดสอบทางสถิติ T-test ของผลผลิตล าไยเกรด A ระหว่างปี 2558 (ก่อนด าเนินการ)
กับ ปี 2559 (หลังด าเนินการ) พบว่า ผลผลิตล าไยเกรด A หลังด าเนินการ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง
(ตารางที่ 6) เนื่องจากเกษตรกรมีตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งช่อผล และใช้น้ าหมักชีวภาพร่วมกับแคลเซียม
โบรอนในการเพิ่มคุณภาพของผลผลิตล าไย
ตารางที่ 6 การเปรียบเทียบทางสถิติ T-test ของผลผลิตล าไยเกรด A ระหว่างปี 2558 (ก่อนด าเนินการ)
และ ปี 2559 (หลังด าเนินการ)
T-test ผลผลิตล าไยเกรด A (กิโลกรัมต่อไร่)
ปี
ก่อนด าเนินการ ปี 2558 หลังด าเนินการ ปี 2559
ก่อนด าเนินการ ปี 2558 - **
หลังด าเนินการ ปี 2559 ** -
หมายเหตุ ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
* หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)
** หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง (p<0.01)
เมื่อมีการทดสอบทางสถิติ T-test ของผลผลิตล าไยคละเกรด ระหว่างปี 2558 (ก่อนด าเนินการ)
กับ ปี 2559 (หลังด าเนินการ) พบว่า ผลผลิตล าไยคละเกรด หลังด าเนินการ ลดลงอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง
(ตารางที่ 7) แสดงให้เห็นว่า การตัดแต่งช่อผล การควบคุมปริมาณผลผลิตในแต่ละช่อล าไย ร่วมกับการใช้
น้ าหมักชีวภาพ สามารถยกระดับคุณภาพผลผลิตล าไยได้