Page 26 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          18




                                จากการศึกษาคู่มือการเขียนหน่วยแผนที่ดินของส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน
                     ซึ่งจัดท าขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 พบว่ามีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การจ าแนกและจัดชันความลาดชัน

                     ของคู่มือการส ารวจและออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในเขตพัฒนาที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2555)
                     ซึ่งก าหนดให้จัดท าแผนที่แสงความลาดชันของพื้นที่ด าเนินการ มาตราส่วน 1:4,000  โดยการวิเคราะห์

                     และจ าแนกความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข (DEM) มาตราส่วน 1:4,000

                     ด้วยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ แล้วจึงน าข้อมูลดังกล่าวมาจัดชั้นความลาดชันเป็น 7 ชั้น ได้แก่
                     ชั้นความลาดชัน A มีค่าความลาดชันของพื้นที่ 0-2 เปอร์เซ็นต์ ชั้นความลาดชัน B มีค่าความลาดชันของพื้นที่

                     2-5 เปอร์เซ็นต์ ชั้นความลาดชัน C มีค่าความลาดชันของพื้นที่ 5-12 เปอร์เซ็นต์ ชั้นความลาดชัน D มีค่า

                     ความลาดชันของพื้นที่ 12-20 เปอร์เซ็นต์ ชั้นความลาดชัน E มีค่าความลาดชันของพื้นที่  20-35 เปอร์เซ็นต์
                     ชั้นความลาดชัน F มีค่าความลาดชันของพื้นที่ 35-50 เปอร์เซ็นต์ และชั้นความลาดชัน G มีค่าความลาดชัน

                     ของพื้นที่มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์


                     2.4 การวิเคราะห์และจัดท าข้อมูลความลาดชันของพื้นที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                                2.4.1 การปรับปรุง แก้ไข แผนที่และข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่น ามาใช้การจัดท าแผนที่

                     แสดงความลาดชันของพื้นที่รายจังหวัด เป็นขั้นตอนที่มีความส าคัญเป็นอย่างมาก ซึ่งผู้ด าเนินการควรตรวจสอบ

                     ข้อมูลมีความสมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้องสามารถน ามาใช้งานได้หรือไม่ ซึ่งหากพบว่ามีข้อมูลไม่ถูกต้อง หรือ
                     ข้อมูลไม่ครบถ้วนต้องด าเนินการปรับปรุง แก้ไข ให้ครบถ้วนและถูกต้องก่อนที่จะน าไปวิเคราะห์ข้อมูล

                     ในขั้นตอนต่อไป โดยผู้ปฏิบัติงานจ าเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะความช านาญและสามารถจัดการ
                     ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยเทคนิควิธีการที่เกี่ยวข้องกับงาน GIS  ในขั้นพื้นฐาน เช่นการรวมข้อมูล

                     (Merge) การตัดข้อมูล (Clip) การลบข้อมูล (Erase) ฯลฯ ส าหรับปัญหาส าคัญที่พบในการด าเนินการ

                     ในครั้งนี้ คือ ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข และข้อมูลเส้นชั้นความสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000
                     ข้อมูลบางระวางไม่สมบูรณ์ หรือไม่ถูกต้อง ท าให้ไม่สามารถน ามาวิเคราะห์และจ าแนกความลาดชัน

                     ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้ ซึ่งผู้ด าเนินการต้องตรวจสอบโดยละเอียดในทุกระวางก่อนน ามาผ่าน
                     กระบวนการโมเสค (Mosaic) หรือเชื่อมต่อให้เป็นผืนเดียวกัน ซึ่งการตรวจสอบและการปรับปรุงแก้ไข

                     ข้อมูลดังกล่าวนั้นมีขั้นตอนและวิธีการที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน และปัญหาที่พบมีความแตกต่างกัน โดยต้อง

                     อาศัยความรู้และทักษะความช านาญของผู้ปฏิบัติงาน และผู้ควบคุมโครงการในการตรวจสอบและปรับปรุง
                     แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องเป็นกรณี ๆ ไป

                                2.4.2 การจัดการโพลีกอนขนาดเล็กจ านวนมากที่เกิดจากการแปลงข้อมูลราสเตอร์ (Raster)
                     เป็นข้อมูลเวคเตอร์ (Vector) ประเภทรูปปิด (Polygon) ซึ่งในขั้นตอนดังกล่าวจะได้ผลลัพธ์เป็นแฟ้มข้อมูล

                     ที่มีขนาดใหญ่มาก โดยจะมีจ านวนของรูปปิดหรือโพลีกอนที่มีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกันเป็นจ านวนมาก

                     ปัญหาที่พบคือจะเกิดโพลีกอนหรือรูปปิดขนาดเล็กเป็นจ านวนมากกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป  ซึ่งเป็นส่วน
                     ส าคัญที่ท าให้เกิดความยุ่งยากและเป็นอุปสรรคในการจัดการข้อมูลและการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์

                     ซึ่งผู้ด าเนินการจ าเป็นต้องก าหนดขนาดเนื้อที่ของโพลีกอนที่มีขนาดเล็กที่สุดที่จะถูกขจัด โดยค าสั่ง อีลิมิเนท
                     (Eliminate) เพื่อการรวมโพลีกอนที่มีขนาดเล็กเหล่านั้นเข้ากับโพลีกอนขนาดใหญ่ที่อยู่ติดกันหรือโพลีกอน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31