Page 31 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          23


















































                     ภาพที่ 3-1 ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1: 4,000  หมายเลขระวาง 5242III 1450


                                    2) เส้นชั้นความสูงเชิงเลข (Contour Line) มาตราส่วน 1:4,000 คือเส้นที่ลากผ่านจุด
                     ที่มีระดับสูงเท่ากันส าหรับใช้แสดงลักษณะความสูงต่ าของพื้นที่ โดยสร้างจากแบบจ าลองระดับสูงที่เป็นจุด

                     ระดับความสูง ร่วมกับข้อมูลเส้นหยุด  (Break  line)  และจุดความสูง (height  Spot)  โดยการสร้างข่าย

                     สามเหลี่ยมไม่ปกติ (Triangulated Irregular Network :TIN ) บริเวณพื้นที่ราบ มีความลาดชันไม่เกิน 35
                     เปอร์เซ็นต์ ระยะห่างระหว่างเส้นชั้นความสูง (Contour Interval) เท่ากับ 2 เมตร ส าหรับในบริเวณพื้นที่

                     สูงชันที่มีความลาดชันมากกว่า  35 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป หากเส้นชั้นความสูงที่ปรากฏบนแผนที่มาตราส่วน

                     1:4,000 มีระยะห่างกันน้อยกว่า 1 มิลลิเมตร จะมีช่วงห่างระหว่างเส้นชั้นความสูงเป็น 5 เมตร หรือ 10 เมตร
                     ตามความเหมาะสม โดยเส้นชั้นความสูงที่มีค่าเป็นบวกแสดงค่าความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง (MSL)

                     เส้นชั้นความสูงที่มีค่าเป็นลบแสดงค่าความสูงต่ ากว่าระดับทะเลปานกลาง  จัดเก็บลงบนสื่อบันทึกข้อมูลใน
                     รูปแบบเวคเตอร์ตามมาตรฐาน USDG  SDTS  with  vector  profile  format  โดยแต่ละระวางมีขนาด

                     เท่ากับ 2x2  ตารางกิโลเมตร ขอบเขตระวางและการก าหนดหมายเลขระวางมีความสอดคล้องและเข้ากัน
                     ได้กับแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสี มาตราส่วน 1:4,000 ดังภาพที่ 3-2
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36