Page 28 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          20




                     ความลาดชันรูปแบบราสเตอร์ (Raster)  เป็นข้อมูลเวกเตอร์ (Vector)  ประเภทรูปปิด (Polygon) ซึ่งจะ
                     พบว่าเส้นขอบเขตของโพลีกอนจะมีลักษณะเป็นเหลี่ยมเป็นมุม ไม่เป็นธรรมชาติและไม่กลมกลืนหรือ

                     สอดคล้องกับลักษณะภูมิประเทศทั่วไป ซึ่งผู้ด าเนินการต้องท าการปรับแต่ง เส้นขอบเขตโพลีกอนให้เรียบ
                     กลมกลืน (Smooth Polygon) โดยการลดจ านวนจุด (vertex) ที่สร้างขึ้นถี่มากเกินไปที่เกิดขึ้นในขั้นตอน

                     ของการแปลงข้อมูลราสเตอร์มาเป็นข้อมูลเวคเตอร์ เพื่อให้เส้นขอบเขตโพลีกอนดูเรียบขึ้น มีความต่อเนื่อง

                     และกลมกลืน โดยใช้ชุดค าสั่ง “Data Management Tools --> Generalization --> Smooth Polygon”
                     และก าหนดให้เลือกใช้อัลกอริทึมของการท าเส้นในเรียบขึ้น (Smoothing Algorithm) แบบ PAEK ส าหรับ

                     การจัดท าแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่ภายใต้โครงการนี้ ก าหนดให้ใช้ระยะทางของย้ายส่วนที่ใช้

                     ค านวณจุดใหม่ (Smoothing tolerance) เท่ากับ 15 เมตร เนื่องจากใช้เวลาในการประมวลผลข้อมูลน้อย
                     กว่าการก าหนดระยะ Smoothing tolerance เท่ากับ 5 เมตรและ 10 เมตร โดยผลลัพธ์ของเส้นขอบเขต

                     ของโพลีกอนที่สร้างใหม่มีรูปลักษณ์ของเส้นแตกต่างกับขอบเขตเดิมไม่มากนัก และมีความเรียบกลมกลืน
                     สอดคล้องกับขอบเขตของรูปปิดเดิมเป็นส่วนใหญ่เมื่อแสดงผลลัพธ์ขอบเขตรูปปิดใหม่ที่สร้างขึ้นบนแผนที่

                     มาตราส่วน 1:4,000 ดังภาพที่ 2-6









































                     ภาพที่ 2-6   ผลลัพธ์ของเส้นขอบเขตของรูปปิดที่เกิดขึ้นจากการก าหนดระยะทางของการย้ายส่วนที่ใช้
                                  ค านวณจุดใหม่ (Smoothing tolerance) เท่ากับ 5 เมตร 10 เมตร 15 เมตร 20 เมตร

                                  และ 25 เมตร
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33