Page 29 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          21




                                2.4.4 การก าหนดขอบเขตของพื้นที่และจ านวนเนื้อที่ของแต่ละจังหวัด ซึ่งเป็นชั้นข้อมูล
                     ที่จัดท าขึ้นในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ประเภทข้อมูลเวคเตอร์ ในรูปแบบโพลีกอน (Polygon) โดย

                     กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบในการจัดท าชั้นข้อมูลดังกล่าวซึ่งจะมี
                     การปรับปรุงข้อมูลให้มีความถูกต้องเป็นไปตามการประกาศหรือก าหนดเขตการปกครองตามแผนงานหรือ

                     โครงการต่าง ๆ จึงท าให้เขตการปกครองในบางจังหวัดมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมใน ขณะที่จ านวนเนื้อที่

                     ของจังหวัดยังคงใช้ตามที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปัญหาที่พบจ านวนเนื้อที่ของจังหวัดที่ได้จากการ
                     ค านวณด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะมีจ านวนเนื้อที่ไม่เท่ากันในแต่ละครั้งที่มีการปรับปรุงชั้นข้อมูล

                     ซึ่งไม่เท่ากับจ านวนเนื้อที่ของจังหวัดที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงาน

                     ที่จัดท าแผนที่ในภาพรวมของจังหวัด เช่นแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน แผนที่ดิน ใช้วิธีการเทียบอัตราส่วน
                     ค่าความต่างของจ านวนเนื้อที่ที่ได้จาการค านวณด้วย GIS กับเนื้อที่ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา น ามา

                     เฉลี่ยตามสัดส่วนเพื่อให้ได้เนื้อที่เท่ากับเนื้อที่รวมของจังหวัดตามที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งจะท าให้
                     เนื้อที่รวมของจังหวัดอาจมีจ านวนมากกว่าหรือน้อยกว่าจ านวนเนื้อที่ที่ได้จากการค านวณจากข้อมูลเชิงพื้นที่

                     ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                                ดังนั้น ในการจัดท าแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่รายจังหวัดภายใต้โครงการนี้ จะใช้เนื้อที่

                     ของข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ได้จากการค านวณด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยใช้ชั้นข้อมูลเขตการปกครอง

                     ของกรมการปกครอง (ปรับปรุงเมื่อปี พ.ศ. 2556) เป็นข้อมูลอ้างอิงในการก าหนดขอบเขตของพื้นที่ของ
                     แต่ละจังหวัด ทั้งนี้หากผู้ใช้ข้อมูลต้องการเนื้อที่ของพื้นที่ที่มีความลาดชันในแต่ละระดับหรือเนื้อที่รวมของ

                     ทั้งจังหวัดตามที่จ านวนเนื้อที่ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาก็สามารถใช้วิธีการค านวณเทียบตามสัดส่วน

                     ของเนื้อที่ที่เกินหรือขาดไปแล้วน าไปคูณกับจ านวนเนื้อที่ความลาดชันของพื้นที่ภายใต้โครงการนี้
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34