Page 13 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                           5




                     น าไปใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับสัญญาณหรือใช้ประโยชน์จากระบบจีพีเอส และท าให้เกิด
                     การค้นคว้าวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์จากสัญญาณดาวเทียม GPS  เป็นไปอย่างกว้างขวาง มีการประดิษฐ์คิดค้น

                     ผลิตภัณฑ์เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมส าหรับใช้ในกิจการต่างๆ เช่นระบบการน าหนเพื่อการเดินเรือ
                     การขนส่งทางอากาศ การส ารวจรังวัด และการจัดท าแผนที่ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งต่อมาได้มีการพัฒนา

                     เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมให้มีขนาดเล็กลงและราคาถูกลง สามารถพกพาได้สะดวก เช่นอุปกรณ์น าทาง

                     ในรถยนต์  เครื่องจีพีเอสแบบพกพาหรือแบบมือถือ (Handheld  GPS) จนในปัจจุบันพัฒนาเป็นไมโครชิป
                     ส าหรับติดตั้งในสมาร์ทโฟน และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาชนิดอื่น ๆ ที่สามารถบอกต าแหน่งได้อย่าง

                     รวดเร็วและมีความถูกต้องประมาณ 5 เมตร ส าหรับวิธีการก าหนดต าแหน่งบนโลกด้วยดาวเทียม

                     แบ่งออกเป็น 2 วิธีคือ
                                      1) การหาต าแหน่งสัมบูรณ์ (Absolute  positioning)  หรือการหาต าแหน่งจุดเดี่ยว

                     (Single point positioning) เป็นวิธีการหาต าแหน่งจุดเดี่ยวโดยใช้เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส
                     แบบน าหน ซึ่งใช้หลักการของการรังวัดด้วยดาวเทียมจีพีเอสแบบสัมบูรณ์โดยอาศัยข้อมูลซูโดเรนจ์

                     มาประมวลผลเพื่อหาค่าพิกัดที่มีความถูกต้องทางต าแหน่งประมาณ 10-20 เมตร ปัจจุบันเครื่องรับสัญญาณ
                     ดาวเทียมจีพีเอส แบบมือถือ (Handheld) มีขนาดเล็กพกพาได้อย่างสะดวก ราคาถูก ใช้งานง่าย จึงเป็นที่นิยม

                     ส าหรับการใช้งานในชีวิตประจ าวันทั่วไป เช่น การเก็บตัวอย่างข้อมูลเชิงพื้นที่ส าหรับการวิเคราะห์

                     ข้อมูลการส ารวจระยะไกล (remote  sensing)  การส ารวจรังวัดต าแหน่งที่ตั้งของหมู่บ้าน สถานที่ส าคัญ
                     แหล่งน้ า  การค้นหาต าแหน่งแปลงที่ดิน การก าหนดขอบเขตพื้นที่และงานที่ไม่ต้องการความถูกต้อง

                     เชิงต าแหน่งมากนัก

                                      2) การหาต าแหน่งสัมพัทธ์ (Relative positioning) เป็นวิธีการหาต าแหน่งเปรียบเทียบ
                     กันระหว่างจุดสองจุดเพื่อต้องการให้ความถูกต้องของต าแหน่งดีขึ้นกว่าการหาต าแหน่งของจุดเดี่ยว โดยใช้ค่า

                     จากหมุดหลักฐานที่มีค่าพิกัดใช้เป็นสถานีฐาน (Base station) เครื่องรับอื่นที่เหลือน าไปวางตามจุดที่ต้องการ
                     หาต าแหน่งเปรียบเทียบกับสถานีฐานจุดเหล่านี้เรียกว่าจุดรีโมทหรือสถานีจร หลักการท างานของการหา

                     ต าแหน่งแบบสัมพัทธ์ คือ เครื่องรับที่สถานีฐานและสถานีจรจะต้องรังวัดไปยังดาวเทียมกลุ่มเดียวกัน
                     ในขณะเวลาเดียวกัน ที่สถานีฐานเครื่องจีพีเอสจะท าหน้าที่เหมือนจุดอ้างอิง สามารถใช้ค่าปรับแก้ของ

                     เครื่องรับที่สถานีฐานกับเครื่องอื่นที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน และสามารถน าไปใช้เป็นค่าแก้ส าหรับค านวณ

                     ต าแหน่งอื่นได้เช่นเดียวกัน
                                         2.1) การหาต าแหน่งสัมพัทธ์ โดยใช้เครื่องรับแบบน าหนตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป

                     เป็นการท างานโดยวิธีการรังวัดแบบ Differential GPS หรือ DGPS ซึ่งให้ค่าความถูกต้องทางต าแหน่งประมาณ

                     1-3 เมตร
                                         2.2) การหาต าแหน่งแบบสัมพัทธ์โดยใช้ เครื่องรับสัญญาณแบบรังวัดจะใช้การวัด

                     คลื่นส่ง L1 เพียงความถี่เดียว หรือวัดคลื่นส่งทั้งสองความถี่ ( L1 / L2) โดยเทคนิคในการวัดด้วยเครื่องรับ
                     แบบรังวัดท าได้ 4 วิธี คือ การรังวัดแบบสถิต (Static survey) การรังวัดแบบจลน์ (Kinematic survey)

                     การรังวัดแบบสถิตอย่างเร็ว (Rapid static survey) และการรังวัดแบบจลน์ในทันที (Real Time
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18