Page 44 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 44
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
31
2.7 ทรัพยากรน้้า
2.7.1 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้้า
ลักษณะทางกายภาพของลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกรมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม มีค่าสัมประสิทธิ์
ความหนาแน่น (K ) เท่ากับ 0.99 และมีค่าอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความยาวเฉลี่ย
c
ของลุ่มน้้า (FF) เท่ากับ 1.7 ดังแสดงในตารางที่ 5 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยู่บริเวณใน ต้าบลกฤษณา
อ้าเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา มีความสูง 582 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง จุดต่้าสุดของพื้นที่อยู่
บริเวณใน ต้าบลดอนชมพู อ้าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา มีความสูง 155 เมตรจากระดับทะเล
ปานกลาง โดยทั่วไปของลุ่มน้้าเป็นพื้นที่ลุ่ม รูปแบบของล้าน้้าเป็นแบบ Dendritic pattern มีลักษณะ
เป็นล้าธารแตกกิ่งก้านสาขาคล้ายเส้นใบของใบไม้ มีทิศทางไม่แน่นอน (เกษม, 2551)
ตารางที่ 5 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร
ล้าดับ ลักษณะทางกายภาพ จ้านวน หน่วยวัด
1 ความยาวเส้นล้อมรอบลุ่มน้้า 329 กิโลเมตร
2 พื้นที่ลุ่มน้้า 2,958 ตารางกิโลเมตร
3 ความยาวเฉลี่ย 101.72 กิโลเมตร
4 ความกว้างเฉลี่ย 54.92 กิโลเมตร
5 อัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความยาวเฉลี่ย 1.70 -
ของลุ่มน้้า (FF)
6 ค่าสัมประสิทธิ์ความหนาแน่น (K ) 1 -
c
7 ความหนาแน่นของการระบายน้้า 0.02 กิโลเมตร/ตารางกิโลเมตร
8 ความลาดชันของพื้นที่ 3.75 เปอร์เซ็นต์
หมายเหตุ : ความหนาแน่นของการระบายน้้า : < 1 แสดงว่ามีการระบายน้้าเลว
: 1-5 แสดงว่ามีการระบายน้้าดีปานกลาง
อัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความยาวเฉลี่ยของลุ่มน้้า (FF)
: < 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม
: > 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะคล้ายรูปพัด
: = 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะเป็นวงกลม
ค่าสัมประสิทธิ์ความหนาแน่น (K) ≥ 1 ยิ่งค่า(K) มากกว่า 1 แสดงว่ารูปร่างของลุ่มน้้ามีลักษณะผิดปรกติมากยิ่งขึ้น
c
c
ที่มา : จากการค้านวณด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์