Page 75 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        66







                                  22)  หนํวยที่ดินที่ 43 43B 43BI1 43BM3 43I1 และ 43M3
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชํน ภาคใต๎ ภาคตะวันออก หรือบริเวณชายฝั่ง
                       ทะเล เกิดจากตะกอนทรายชายทะเล หรือจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูก
                       เคลื่อนย๎ายมาทับถมของพวกวัสดุเนื้อหยาบ มีสภาพพื้นที่คํอนข๎างราบเรียบ หรือเป็นลูกคลื่นลอนลาด เป็น

                       ดินลึก มีการระบายน้ําคํอนข๎างมากเกินไป เนื้อดินเป็นพวกดินทราย ดินมีสีเทา สีน้ําตาลอํอน หรือเหลือง
                       ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ํา ถ๎าพบบริเวณสันทรายชายทะเล จะมีเปลือกหอยปะปนอยูํในเนื้อดิน
                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อยถึงเป็นดําง
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 43 มีการระบายน้ําคํอนข๎างมาก มีพื้นที่ 2,707 ไรํ หรือคิดเป็น

                       ร๎อยละ 0.20 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 43B  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย  มีการระบายคํอนน้ํา
                       ข๎างมาก มีพื้นที่ 1,429 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.11 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 43BI1 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา

                       คํอนข๎างมาก พื้นที่มีศักยภาพในการจัดการน้ําเพื่อใช๎ในการเกษตร มีพื้นที่ 454 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ
                       0.03 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 43BM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี

                       และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 14 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา
                                      (5) หนํวยที่ดินที่ 43I1 มีการระบายน้ําคํอนข๎างมาก พื้นที่มีศักยภาพในการจัดการ
                       น้ําเพื่อใช๎ในการเกษตร มีพื้นที่ 2,830 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.21 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (6) หนํวยที่ดินที่ 43M3 มีการระบายน้ําดี และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํา

                       นา มีพื้นที่ 46 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  23)  หนํวยที่ดินที่ 44 และ 44B
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกดินตะกอนลําน้ําหรือจากการ

                       สลายตัวผุพังอยูํกับที่ของวัสดุเนื้อหยาบ พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดจนถึง
                       เป็นเนินเขา เป็นดินลึก มีการระบายน้ําดีมากเกินไป เนื้อดินเป็นพวกดินทราย สีดินเป็นสีเทา หรือสี
                       น้ําตาลอํอน และในดินลํงที่ลึกมากกวํา 150 เซนติเมตร อาจพบเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย หรือดิน
                       รํวนเหนียวปนทราย บางบริเวณอาจพบจุดประสีตํางๆ ในดินชั้นลําง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม

                       ธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินโดยมากจะเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 44 มีการระบายน้ําคํอนข๎างมาก มีพื้นที่ 1,660 ไรํ หรือคิดเป็น
                       ร๎อยละ 0.12 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 44B  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา

                       คํอนข๎างมาก มีพื้นที่ 5,083 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.38 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  24) หนํวยที่ดินที่ 45 45B  45BI1 45BI3 45BI1M3 45BI3M3 45BM3 45C  45CI1
                       45CM3 45D 45gmI1 และ 45I1
                                       เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชํน ภาคใต๎ ภาคตะวันออก เกิดจากวัตถุต๎น

                       กําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูก
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80