Page 73 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        64







                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 35BM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 20 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ
                       0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 35C สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 4,835 ไรํ

                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.36 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 35gmB  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง พบจุดประสีเทาภายใน 75 เซนติเมตร มีพื้นที่ 3,938 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.29 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา

                                    18)  หนํวยที่ดินที่ 36B
                                          เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือการสลายตัว
                       ผุพังอยูํกับที่ หรือการสลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ มีสภาพพื้นที่
                       ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย เป็นดินลึก มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวน

                       ละเอียดที่มีเนื้อดินบนเป็นดินรํวนปนทราย หรือดินรํวน สํวนดินลํางเป็นดินรํวนเหนียวปนทราย
                       หรือดินรํวนเหนียว ดินมีสีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีแดง และอาจพบจุดประสีตํางๆในชั้นดินลําง
                       ดินชั้นบนสํวนใหญํจะมีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง สํวนดินลํางจะมีปฏิกิริยาดินเป็นกรด

                       ปานกลางถึงเป็นดํางปานกลาง มีพื้นที่ 581 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.04 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                    19)  หนํวยที่ดินที่ 39 39B 39BI1 39C 39CI1 39D และ 39I1
                                         เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุกเชํนภาคใต๎ภาคตะวันออกเกิดจากวัตถุต๎น
                       กําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูก
                       เคลื่อนย๎ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอนพบบริเวณพื้นที่ดอนที่มี

                       สภาพพื้นที่คํอนข๎างราบเรียบถึงเป็นเนินเขาเป็นดินลึกที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลางเนื้อดินเป็น
                       พวกดินรํวนหยาบสีดินเป็นสีน้ําตาลสีเหลืองหรือสีแดงและอาจพบจุดประสีตํางๆในดินชั้นลํางดินมี
                       ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ําปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด

                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 39 มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 816 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.06
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 39B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       7,185 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.54 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 39BI1 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี พื้นที่
                       มีศักยภาพในการจัดการน้ําเพื่อใช๎ในการเกษตร มีพื้นที่ 982 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.07 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา
                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 39C สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 5,144 ไรํ

                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.39 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (5) หนํวยที่ดินที่ 39CI1 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดี พื้นที่มี
                       ศักยภาพในการจัดการน้ําเพื่อใช๎ในการเกษตร มีพื้นที่ 192 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78