Page 77 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        68







                                      (13) หนํวยที่ดินที่ 45I1 มีการระบายน้ําดีปานกลาง พื้นที่มีศักยภาพในการใช๎น้ํา
                       เพื่อการเกษตร มีพื้นที่ 1,930 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.14 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  25)  หนํวยที่ดินที่ 46B 46BM3 และ 46C
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการ

                       สลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมของวัสดุเนื้อละเอียดที่มา
                       จากพวกหินตะกอนหรือหินภูเขาไฟ พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนจนถึงเนินเขา
                       เป็นดินตื้น เนื้อดินเป็นดินเหนียวปนกรวดหรือปนลูกรัง ดินสีน้ําตาลหรือสีเหลืองหรือแดง ปฏิกิริยาดิน
                       เป็นกรดจัดมาก การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา

                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 46B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       40,278 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 3.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 46BM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 44 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ

                       0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 46C สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 16,273 ไรํ
                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 1.22 ของเนื้อที่ลุํมน้ํา

                                  26)  หนํวยที่ดินที่ 47B 47BM3 47C 47CM3 47D และ 47E
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎ว
                       ถูกเคลื่อนย๎ายมาในระยะทางไมํไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากทั้งหินตะกอนหรือหินอัคนี
                       พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เป็นดินตื้น เนื้อดินเป็นดิน
                       เหนียวหรือดินรํวน ที่มีเศษหินปะปนมาก และพบชั้นหิน พื้นลึก 50 - 80 เซนติเมตร ดินมีสีน้ําตาล

                       สีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง มีการระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 47B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       9,196 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.69 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 47BM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 21 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ
                       0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 47C  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด  มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่

                       31,328 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 2.34 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 47CM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดีปานกลาง
                       และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 12 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา

                                      (5) หนํวยที่ดินที่ 47D  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดชัน มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       40,339 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 3.02 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (6) หนํวยที่ดินที่ 47E สภาพพื้นที่ที่เป็นเนินเขา มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 6,365 ไรํ
                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.48 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82