Page 71 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        62







                       หรือจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย เป็นดินลึกมาก
                       มีการระบายน้ําดีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวสีดินเป็นสีน้ําตาลสีเหลืองหรือสีแดงปฏิกิริยาดินเป็นกรด
                       จัดมากถึงเป็นกรดเล็กน๎อย ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา มีพื้นที่ 7,445 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.56 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา

                                  15)   หนํวยที่ดินที่ 32 32I1 และ 32I3
                                           เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุกเชํนภาคใต๎ ภาคตะวันออก เกิดจากการทับ
                       ถมของตะกอนลําน้ําบริเวณสันดินริมน้ํามีสภาพพื้นที่คํอนข๎างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอดลาดเป็นดิน
                       ลึกที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลางเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนละเอียดหรือดินทรายแปูงบางแหํงอาจมี

                       ชั้นดินทรายละเอียดสลับชั้นอยูํและมักมีแรํไมกาปะปนในเนื้อดินสีดินเป็นสีน้ําตาลหรือสีเหลืองปน
                       น้ําตาล และอาจจะพบจุดสีพวกสีเหลืองหรือสีเทาในดินชั้นลําง ปฏิกิริยาดินเป็นดินกรดจัดมากถึงกรด
                       ปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 32 มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 13,120 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.98

                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 32I1 มีการระบายน้ําดี พื้นที่มีศักยภาพในการจัดการน้ําเพื่อใช๎ใน
                       การเกษตร มีพื้นที่ 671 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.05 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                     (3) หนํวยที่ดินที่ 32I3 มีการระบายน้ําดี และมีระบบชลประทานที่มีวัตถุประสงค์
                       เพื่อปูองกันน้ําทํวมและน้ําเค็ม มีพื้นที่ 442 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.03 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  16)   หนํวยที่ดินที่ 34 34B  34BI1 34BI1M3 34BM3 34C  34CI1 34CM3 34D
                       34gm 34gmI1 34I1 34I3 34I1M3 และ 34M3
                                           เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุกเชํนภาคใต๎ ภาคตะวันออก เกิดจากวัตถุต๎น

                       กําเนิดดินตะกอนลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎าย
                       มาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินอัคนี หรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่
                       คํอนข๎างราบเรียบถึงเป็นเนินเขา เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเป็นพวกดิน

                       รํวนละเอียดที่มีเนื้อดินบนเป็นดินรํวนปนทราย สํวนดินลํางเป็นดินรํวนเหนียวปนทราย สีดินเป็นสี
                       น้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึง
                       กรดจัด
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 34 มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 23,311 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 1.74

                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 34B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       73,312 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 5.49 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 34BI1 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี

                       และพื้นที่มีศักยภาพในการจัดการน้ําเพื่อใช๎ในการเกษตร มีพื้นที่ 45,824 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 3.43
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 34BI1M3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดีปาน
                       กลาง พื้นที่มีศักยภาพในการจัดการน้ําเพื่อใช๎ในการเกษตร และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา

                       มีพื้นที่ 99 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76