Page 78 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        69







                                  27)  หนํวยที่ดินที่ 48B 48BM3 48C 48D 48E และ 48E/RC
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการ
                       สลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูฏเคลื่อนย๎ายมาในระยะทางไมํไกลนักของวัสดุ
                       เนื้อคํอนข๎างหยาบที่มาจากหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น

                       ลอนลาดจนถึงเนินเขา เป็นดินตื้น เนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย สํวนดินลํางเป็นดินรํวนเหนียวปนเศษหิน
                       หรือปนกรวด ก๎อนกรวดขนาดใหญํเป็นหินกลมมน ถ๎าเป็นดินปนเศษหินมักพบชั้นหินพื้นตื้นกวํา 50
                       เซนติเมตร ดินเป็นสีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง สีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง
                       การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา

                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 48B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       18,631 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 1.39 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 48BM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 33 ไรํ หรือคิดเป็นน๎อยกวําร๎อยละ

                       0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 48C สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 12,045 ไรํ
                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.90 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 48D  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดชัน มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่
                       2,006 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.15 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (5) หนํวยที่ดินที่ 48E สภาพพื้นที่เป็นเนินเขา มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 102 ไรํ หรือ
                       คิดเป็นร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (6) หนํวยที่ดินที่ 48E/RC สภาพพื้นที่เป็นเนินเขา และพบหินโผลํ มีการระบายน้ําดี

                       มีพื้นที่ 426 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.03 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  28)  หนํวยที่ดินที่ 50 50B 50BI1 50C และ 50I1
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชํน ภาคใต๎ ภาคตะวันออก เกิดจากการ

                       สลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมในระยะทางไมํไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหิน
                       ตะกอน หรือจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
                       ลอนลาด เป็นดินลึกปานกลาง การระบายน้ําดี เนื้อดินบนเป็นดินรํวนปนทราย หรือดินรํวน
                       เหนียวปนทราย ในระดับความลึกประมาณ 50-100 เซนติเมตร จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือ

                       ลูกรัง สีดินเป็นสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากความอุดมสมบูรณ์ต่ํา
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 50 มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 2,796 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.21
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 50B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่

                       12,945 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.97 ของเนื้อที่ลุํมน้ํา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 50BI1 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี พื้นที่
                       มีศักยภาพในการใช๎น้ําเพื่อการเกษตร มีพื้นที่ 9,778 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.73 ของเนื้อที่ลุํมน้ํา
                       สาขา
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83