Page 80 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 80

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        71







                                  32)   หนํวยที่ดินที่ 56B 56BM3 และ 56C
                                      เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎ว
                       ถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมในระยะทางไมํไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินอัคนี
                       พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อยถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึกปานกลาง

                       เนื้อดินชํวง 50 เซนติเมตร ตอนบนเป็นดินรํวนหรือดินรํวนปนทราย สํวนดินลําง เป็นดินปนเศษหิน
                       ดินสีน้ําตาลเหลืองหรือแดง เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกหินตะกอนเนื้อหยาบหรือหินอัคนีเนื้อหยาบ
                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด การระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 56B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่

                       19,685 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 1.47 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 56BM3 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง และมีการจัดการพื้นที่ดินดอนในการทํานา มีพื้นที่ 561 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.04
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 56C สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 4,452 ไรํ
                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.33 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  33) หนํวยที่ดินที่ 62

                                      เป็นหนํวยที่ดินที่ประกอบด๎วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกวํา
                       ร๎อยละ 35 มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกตํางกัน
                       ไปแล๎วแตํชนิดของหินต๎นกําเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก๎อนหิน หรือหินพื้นโผลํ กระจัดกระจาย
                       ทั่วไป สํวนใหญํยังปกคลุมด๎วยปุาไม๎ประเภทตํางๆ เชํน ปุาเบญจพรรณ ปุาเต็งรัง หรือปุาดิบชื้น
                       หลายแหํงมีการทําไรํเลื่อนลอย โดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ํา ซึ่งเป็นผลทําให๎เกิด

                       การชะล๎างพังทลายของดิน จนบางแหํงเหลือแตํหินพื้นโผลํ มีพื้นที่ 141,654 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ
                       10.60 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  34)   พื้นที่อื่นๆ

                                      ประกอบด๎วยพื้นที่ปศุสัตว์ (AF) พื้นที่เลี้ยงสัตว์น้ํา (AQ) สุสาน (CEM) ที่ดินดัดแปลง
                       (ML) บํอขุด (P) ที่ดินเต็มไปด๎วยก๎อนหิน (RL) ทะเล (SEA) พื้นที่ชุมชน (U) และพื้นที่น้ํา (W) มีพื้นที่
                       98,809 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 7.40 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                              4.1.3 สมดุลของน้ําเพื่อการเกษตร

                                  เป็นการวิเคราะห์หาชํวงฤดูกาลเพาะปลูกในฤดูฝนที่เหมาะสม ชํวงระยะเวลาที่พืช
                       เสี่ยงตํอการขาดน้ํา ซึ่งต๎องหลีกเลี่ยงการปลูกพืช เมื่อจัดหาน้ําไว๎ให๎พืชได๎ไมํเพียงพอ ข๎อมูลที่นํามา
                       วิเคราะห์ คือ ปริมาณน้ําฝน คําการระเหยและการคายน้ําอ๎างอิง (ETo) คํา ETo คํานวณโดยใช๎สมการ
                       Penman-Monteith จากข๎อมูลสถิติภูมิอากาศ สถานีตรวจวัดอากาศ จังหวัดจังหวัดระยอง ในคาบ

                       30 ปี (ปี 2530-2559) สามารถสรุปสมดุลของน้ําเพื่อการเกษตรลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ได๎ดังนี้
                       (ตารางที่ 7 และภาพที่ 12)
                                  1) ชํวงระยะเวลาที่มีความชื้นพอเหมาะตํอการปลูกพืชเป็นชํวงฤดูฝนปกติ โดยเป็น
                       ชํวงที่ฝนเริ่มตกชุกจนกระทั่งใกล๎จะหมดฤดูฝนซึ่งมีความชื้นพอเหมาะตํอการปลูกพืช ชํวงเวลานี้อยูํ

                       ในชํวงต๎นเดือนเมษายนถึงปลายเดือนตุลาคม ลักษณะภูมิอากาศในชํวงระยะเวลานี้มีลักษณะ ดังนี้
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85